ผู้ใช้:Pilarbini/กระบะทราย/Saccharomyces cerevisiae

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Pilarbini/กระบะทราย/Saccharomyces cerevisiae
S. cerevisiae under DIC microscopy
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: เห็ดรา
ไฟลัม: Ascomycota
ไฟลัมย่อย: Saccharomycotina
ชั้น: Saccharomycetes
อันดับ: Saccharomycetales
วงศ์: Saccharomycetaceae
สกุล: Saccharomyces
สปีชีส์: S.  cerevisiae
ชื่อทวินาม
Saccharomyces cerevisiae
Meyen ex E.C. Hansen

Saccharomyces cerevisiae เป็นสปีชีส์ของยีสต์ที่ใช้ทำไวน์ เหล้าหรือเบียร์ ขนมปัง และเบเกอรี่อื่น ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ เชื่อกันว่าแต่เดิมถูกนำมาจากเปลือกขององุ่น (ยีสต์ดูเหมือนแผ่นขาว ๆ บนเปลือกผลไม้สีเข้ม เช่น บนลูกพลัม) นับเป็นหนึ่งในสิ่งมีชีวิตแม่แบบสำหรับการศึกษาเซลล์ของยูคาริโอตที่ถูกศึกษามากที่สุดเป็นอันดับต้น ๆ ในอณูชีววิทยาและชีววิทยาของเซลล์ คล้ายกับ Escherichia coli ที่ถูกเรียกว่าเป็นสิ่งมีชีวิตแม่แบบของแบคทีเรีย S. cerevisiae เป็นจุลินทรีย์ซึ่งอยู่เบื้องหลังการหมักที่พบได้ทั่วไป โดยเซลล์มีตั้งแต่ทรงกลมไปจนถึงรี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5–10 ไมโครเมตร และสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (Budding)[1]

โปรตีนหลายแบบที่มีความสำคัญในชีววิทยามนุษย์ถูกค้นพบโดยการ

 "Saccharomyces" มาจากภาษากรีกที่ถูกทำให้เป็นละตินหมายถึงราในน้ำตาล (sugar mold) saccharo- หมายถึงน้ำตาล และmyces หมายถึงรา Cerevisiae มาจากภาษาละตินหมายถึงเกี่ยวกับเบียร์

Many proteins important in human biology were first discovered by studying their homologs in yeast; these proteins include cell cycle proteins, signaling proteins, and protein-processing enzymes. S. cerevisiae is currently the only yeast cell known to have Berkeley bodies present, which are involved in particular secretory pathways. Antibodies against S. cerevisiae are found in 60–70% of patients with Crohn's disease and 10–15% of patients with ulcerative colitis (and 8% of healthy controls).[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. Feldmann, Horst (2010). Yeast. Molecular and Cell bio. Wiley-Blackwell. ISBN 352732609X.[ต้องการเลขหน้า]
  2. Walker LJ, Aldhous MC, Drummond HE, Smith BR, Nimmo ER, Arnott ID, Satsangi J (2004). "Anti-Saccharomyces cerevisiae antibodies (ASCA) in Crohn's disease are associated with disease severity but not NOD2/CARD15 mutations". Clin. Exp. Immunol. 135 (3): 490–6. doi:10.1111/j.1365-2249.2003.02392.x. PMC 1808965. PMID 15008984.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]