ผู้ใช้:Patsagorn Y./กระบะทราย/วิกิพีเดีย:หมายเหตุการแก้ไข

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หมายเหตุการแก้ไข คือกล่องข้อความที่จะแสดงบริเวณเหนือกล่องการแก้ไข หรือปรากฎเป็นคำเตือนเมื่อแก้ไขหน้า ผู้ใช้ทั่วไปสามารถสร้างหมายเหตุการแก้ไขของหน้าผู้ใช้และหน้ารองของตัวเองได้ สำหรับในเนมสเปซอื่นคุณจะต้องมีสิทธิ์ผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติเป็นอย่างน้อยเพื่อสร้าง

สำหรับการสร้างและใช้งานหมายเหตุการแก้ไข คุณควรจะมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแนวคิดของเนมสเปซในวิกิพีเดีย ซึ่งก็คือกลุ่มของหน้าที่ขึ้นต้นด้วยคำระบุโดยซอร์ฟแวร์มีเดียวิกิตามด้วยเครื่องหมายทวิภาค หรือในกรณีของหมวดหมู่หลัก จะไม่มีคำนำหน้าเนมสเปซ

ทั้งนี้ บางกล่องข้อความที่คุณอาจพบในระหว่างทำการแก้ไขหน้าอาจไม่ใช่หมายเหตุการแก้ไข แต่เป็นข้อความระบบสำหรับการแจ้งหรือการเตือนต่าง ๆ โดยซอร์ฟแวร์มีเดียวิกิเช่นกัน

ลิงก์หมายเหตุการแก้ไข[แก้]

เมื่อหน้าใด ๆ ถูกแก้ไข ลิงก์สีแดงหรือน้ำเงินจะถูกแสดงบริเวณด้านขวาบนของหน้าเช่นนี้:

หน้า

หรือ:

กลุ่ม   หน้า

เหล่านี้คือตัวอย่างของลิงก์ทึ่จะแสดงสำหรับหมายเหตุการแก้ไขแบบเฉพาะหน้า และแบบกลุ่มหน้า ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ยืนยันอัตโนมัติมัติสามารถแก้ไขหมายเหตุการแก้ไขส่วนใหญ่ได้ ดังนั้นหากคุณมีสิทธิ์นี้ คุณจะเห็นลิงก์ทั้งลิงก์ที่โยงไปยังหมายเหตุการแก้ไขแบบกลุ่ม และลิงก์ที่โยงไปยังหมายเหตุการแก้ไขเฉพาะหน้า ถ้าหน้าไม่มีอยู่ ลิงก์จะแสดงเป็นสีแดง

สำหรับผู้ใช้อื่นยังคงสามารถสร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับในหน้ารองผู้ใช้ของตัวเองได้ ถ้าหากหน้ารองผู้ใช้ยังไม่ถูกสร้าง ลิงก์ "หน้า" จะถูกแสดงเพื่อให้เจ้าของสามารถสร้างได้โดยสะดวก และจะเห็นทั่งลิงก์กลุ่มและหน้ากรณีถูกสร้างขึ้นแล้ว แต่จะไม่สามารถแก้ไขได้

ดูเพิ่มเติมที่ § Hiding the red links ด้านล่าง

หมายเหตุการแก้ไข[แก้]

สำหรับการสร้างหม่ยเหตุการแก้ไขใหม่ {{หมายเหตุการแก้ไข}} ใช้สำหรับเป็นแม่แบบในการสร้างหมายเหตุอย่างง่าย ดูที่หน้าแม่แบบสำหรับวิธีใช้ และดูที่หมวดหมู่:ระบบหมายเหตุการแก้ไข สำหรับแม่แบบอื่น ๆ

หน้าผู้ใช้และคุยกับผู้ใช้[แก้]

เมื่อแก้ไขหน้าผู้ใช้ {{base userpage editnotice}} จะแสดงขึ้นมา

สร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับหน้าผู้ใช้โดยใช้{{หมายเหตุการแก้ไขหน้าผู้ใช้}}

ตัวอย่าง:

กล่องนี้จะแสดงเหนือกล่องข้อความสำหรับแก้ไขเมื่อผู้ใช้ใด ๆ แก้ไขหน้าผู้ใช้ของตัวอย่าง โดยจะเปลี่ยนเป็นชื่อผู้ใช้ของคุณโดยอัตโนมัติ

ผู้ใช้ทุกคนสามารถสร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับหน้าผู้ใช้หรือคุยกับผู้ใช้เองได้ (แต่หน้ารองของแม่แบบหมายเหตุการแก้ไข สามารถสร้างและแก้ไขได้เฉพาะผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติเท่านั้น) รูปแบบของหน้ารองจะเป็นเช่นนี้

ผู้ใช้:ตัวอย่าง/Editnotice
คุยกับผู้ใช้:ตัวอย่าง/Editnotice

คุณอาจลองสร้างหมายเหตุการแก้ไขของตัวเองได้โดยใช้ {{หมายเหตุการแก้ไข}} เป็นข้อความล่วงหน้าโดยใช้ลิงก์เหล่านี้:

สร้างสำหรับหน้าผู้ใช้ของคุณ
สร้างสำหรับหน้าคุยกับผู้ใช้ของคุณ

เนมสเปซอื่น[แก้]

หมายเหตุการแก้ไขของเมนสเปซอื่นและสำหรับหน้ารองผู้ใช้สามารถสร้างได้เฉพาะผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติเท่านั้น โดยมี 3 ชนิดดังนี้:

แบบเนมสเปซ สำหรับแสดงในทุกหน้าในเนมสเปซนั้น
แบบกลุ่ม แสดงในทุกหน้าที่เป็นหน้ารองของหน้าที่ระบุ
แบบเฉพาะหน้า แสดงเฉพาะในหน้าที่ระบุ

รูปแบบของชื่อหน้าจะเป็นเช่นนี้:

แบบเนมสเปซ ดูด้านล่าง
แบบกลุ่ม แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/กลุ่ม/<ชื่อเต็มของหน้าราก>
แบบเฉพาะหน้า แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/หน้า/<ชื่อเต็มของหน้ารวมเนมสเปซ>

สร้างหมายเหตุการแก้ไขใหม่[แก้]

ในการสร้างหมายเหตุการแก้ไขแบบอย่างง่ายสำหรับเนมสเปซ ให้กดที่ปุ่มสร้างด้านล่าง ส่วนการสร้างในแบบกลุ่มและแบบเฉพาะหน้า กรอกชื่อหน้าในกล่องแล้วกด "สร้าง" สำหรับหน้าผู้ใช้และหน้าคุยกับผู้ใช้ กดสร้างได้เลย

หมายเลข เนมสเปซ สำหรับแต่ละเนมสเปซ สร้าง
-1 พิเศษ:อีเมลผู้ใช้ มีเดียวิกิ:Emailpagetext
0 หลัก (บทความ) แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หลัก
1 พูดคุย แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/พูดคุย
2 ผู้ใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/ผู้ใช้ สร้างหมายเหตุการแก้ไขหน้าผู้ใช้ของคุณ
3 คุยกับผู้ใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยกับผู้ใช้ สร้างหมายเหตุการแก้ไขหน้าคุยของคุณ
4 วิกิพีเดีย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/วิกิพีเดีย
5 คุยเรื่องวิกิพีเดีย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องวิกิพีเดีย
6 ไฟล์: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนสเปซ/ไฟล์
7 คุยเรื่องไฟล์: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องไฟล์
8 มีเดียวิกิ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/มีเดียวิกิ
9 คุยเรื่องมีเดียวิกิ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องมีเดียวิกิ
10 แม่แบบ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/แม่แบบ
11 คุยเรื่องแม่แบบ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องแม่แบบ
12 วิธีใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/วิธีใช้
13 คุยเรื่องวิธีใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องวิธีใช้
14 หมวดหมู่: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หมวดหมู่
15 คุยเรื่องหมวดหมู่: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องหมวดหมู่
100 สถานีย่อย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/สถานีย่อย
101 คุยเรื่องสถานีย่อย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องสถานีย่อย
108 หนังสือ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หนังสือ
109 คุยเรื่องหนังสือ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องหนังสือ
118 ฉบับร่าง: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/ฉบับร่าง
119 คุยเรื่องฉบับร่าง: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องฉบับร่าง
828 มอดูล: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/มอดูล
829 คุยเรื่องมอดูล: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องมอดูล

วิธีการขอหมายเหตุการแก้ไข[แก้]

โดยปกติผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติสามารถสร้างได้ด้วยตัวเอง กรณีไม่สามารถสร้างได้ให้ทำดังนี้:

  • แก้ไขหน้าที่ต้องการสร้างหมายเหตุการแก้ไข
  • ใส่โค้ดดังต่อไปนี้ [[{{editnotice talkpagename}}]]
  • กดดูตัวอย่างหน้าโดยไม่ต้องบันทึกหน้า
  • กดที่ลิงก์ที่ถููกเพิ่มใหม่นั้น หากระบบถามว่าต้องการละทิ้งการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ให้กดตกลง ละทิ้งการเปลี่ยนแปลง
  • เพิ่มส่วนใหม่ แล้วเพิ่มหมายเหตุที่ต้องการใต้ชื่อส่วนนั้น เพิ่มคำอธิบายและลงชื่อ
  • อย่าลืมเพิ่ม {{edit semi-protected}} เพื่อให้ผู้ที่แก้ไขได้สามารถเห็นคำขอ กดดูตัวอย่างเพื่อตรวจข้อผิดพลาด แล้วกดบันทึก
  • รอคอย คุณอาจได้รับการแจ้งเตือนเมื่อคำขอถูกตอบรับแล้ว

เมื่อแสดงผล[แก้]

หมายเหตุการแก้ไขจะแสดงเมื่อทำการแก้ไขหน้า แต่ในบางกรณีการแสดงหมายเหตุการแก้ไขก็ทีประโยชน์เมื่อดูหน้า ดังนั้นจะแสดงในกรณีดังต่อไปนี้:

  • ในเนมสเปซใด ๆ เมื่อผู้ใช้ไม่มีสิทธิ์เพียงพอดูหน้าที่ถูกป้องกัน หมายเหตุการแก้ไขจะแสดงเช่นกัน ยกเว้นหมายเหตุการแก้ไขของเนมสเปซ

เมื่อหมายเหตุการแก้ไขถูกแสดงในโหมดเยี่ยมชม ระบบจะให้ค่าพารามิเตอร์เป็น "notice action = view โดยสามารถใช้ในหมายเหตุการแก้ไขเช่นนี้:

{{#ifeq: {{{notice action|}}} | view
| <!-- ผู้ใช้ที่ไม่สามารถแก้ไขหน้าและกำลังดูโค้ดต้นฉบับ จะแสดงส่วนนี้ -->
| <!-- ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์แก้ไขหน้าจะเห็นส่วนนี้ -->
}}

ซ่อนลิงก์แดง[แก้]

หากคุณไม่ต้องการจะเห็นลิงก์แดง "กลุ่ม" และ "หน้า" กรุณาเพิ่มโค้ดต่อไปนี้ยังหน้า CSS ส่วนตัวสำหรับสกินต่าง ๆ แล้วรอซักครู่หนึ่ง จากนั้นลองล้างแคชบนเบราว์เซอร์ของคุณ

/* ซ่อนลิงก์แดง "กลุ่ม" และ "หน้า" ของหมายเหตุการแก้ไข */
.editnotice-area .editnotice-redlink {
  display: none !important;
}

ถ้าคุณไม่ต้องการเห็นลิงก์สำหรับโยงไปยังหน้าต้นหมายเหตุการแก้ไขนั้น ๆ อีกต่อไป กรุณาใช้โค้ดต่อไปนี้แทน:

/* ซ่อนลิงก์ของหมายเหตุการแก้ไขทั้งหมด */
.editnotice-area .editnotice-link {
  display: none !important;
}

Notices[แก้]

When an editnotice is used on an article, people creating editnotices are advised to leave a message on the article's talk page for further discussion of the editnotice on the article.

The template {{active editnotice}} may be used to indicate that a non-user page has an active (non-blank) editnotice. Pages will then be added to Category:Pages with editnotices.

Listing editnotices[แก้]

Technical details[แก้]

Anything put on the pages MediaWiki:Editnotice-0 through MediaWiki:Editnotice-15 (or Editnotice-100 through Editnotice-109) will appear as an editnotice for every page in an entire namespace. Editnotice-0 is for mainspace pages, Editnotice-1 for the talk space pages, Editnotice-2 for user space pages, etcetera. See WP:Namespace for the meaning of all of the numbers.

The template {{editnotice load}} has been put on each of those MediaWiki namespace pages. The template causes each article to use a subpage specific to it as its editnotice rather than using a namespace-wide editnotice.

The editnotice load system uses two methods of storing the editnotices:

  • For User and User talk space the editnotice is stored as a subpage of the user or talk page named /Editnotice. This method allows users to edit these notices.
  • For all other namespaces and for user sub-pages the editnotice is stored as a subpage of Template:Editnotices. Template:Editnotices and its subpages are protected by the MediaWiki:Titleblacklist so that only admins, template editors, and page movers can create and edit them.

Although all of the namespaces could initially store editnotices directly as MediaWiki messages, this was found to cause performance issues as the MediaWiki namespace grew. The display of MediaWiki editnotices for namespaces that have the MediaWiki subpage feature has been disabled; even though an editnotice can be created as a MediaWiki message for these namespaces, it will not show. For consistency, and to keep the MediaWiki namespace clean, all editnotices are now stored as subpages of Template:Editnotices. This means we again can create editnotices for all namespaces.

Group notices stored as Template:Editnotices/Group/... can be created for pages in all namespaces except main (article), File (image), MediaWiki, and Category. The reason is that those namespaces don't have the MediaWiki subpage feature, thus group notices would not be meaningful in those namespaces. The talk spaces of those namespaces understand subpages and can use group notices, although group notices are usually not meaningful there either.

Edit intros[แก้]

Edit intros are similar to editnotices, but use different schemes:

A feature request at T85372 asks for per-category editnotices to make it much easier to add and maintain this kind of notices.

Emailnotice[แก้]

Emailnotices allow registered users with a confirmed email to display a custom message at Special:EmailUser for their username. Emailnotices are located at Special:MyPage/Emailnotice (uses). The system was implemented in MediaWiki:Emailpagetext after this discussion.

Protection notices[แก้]

The standard message displayed when the source of a protected page is being viewed may be replaced by creating a page of the form Template:Editnotices/Protection/<Full page name>. When this is done, the standard edit notices for the page will not be displayed by default; display them if necessary by including {{editnotice load|notice action = view}} in the custom protection notice.

This should generally only be used when the standard notice displayed by MediaWiki:Protectedpagetext and/or MediaWiki:Cascadeprotected is misleading users to file {{edit protected}} requests in the wrong place; for example, see the history of Template talk:Reflist prior to September 2011.

History[แก้]

Editnotices were introduced in r39120, 11 August 2008, MediaWiki 1.14.

This page may not be complete. Here are some links to more information:

Alternatives[แก้]

An alternative to an editnotice, not requiring any special privileges, is to insert one or more HTML comments into a page. This will be visible when a user is editing the page, but not in the page itself. The comment must be preceded by the characters <!-- and followed by -->.

Related templates[แก้]

↑↑↑

ลิงก์หมายเหตุการแก้ไข[แก้]

เมื่อหน้าใด ๆ ถูกแก้ไข ลิงก์สีแดงหรือน้ำเงินจะถูกแสดงบริเวณด้านขวาบนของหน้าเช่นนี้:

หรือ:

เหล่านี้คือตัวอย่างของลิงก์ทึ่จะแสดงสำหรับหมายเหตุการแก้ไขแบบเฉพาะหน้า และแบบกลุ่มหน้า ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ยืนยันอัตโนมัติมัติสามารถแก้ไขหมายเหตุการแก้ไขส่วนใหญ่ได้ ดังนั้นหากคุณมีสิทธิ์นี้ คุณจะเห็นลิงก์ทั้งลิงก์ที่โยงไปยังหมายเหตุการแก้ไขแบบกลุ่ม และลิงก์ที่โยงไปยังหมายเหตุการแก้ไขเฉพาะหน้า ถ้าหน้าไม่มีอยู่ ลิงก์จะแสดงเป็นสีแดง

สำหรับผู้ใช้อื่นยังคงสามารถสร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับในหน้ารองผู้ใช้ของตัวเองได้ ถ้าหากหน้ารองผู้ใช้ยังไม่ถูกสร้าง ลิงก์ "หน้า" จะถูกแสดงเพื่อให้เจ้าของสามารถสร้างได้โดยสะดวก และจะเห็นทั่งลิงก์กลุ่มและหน้ากรณีถูกสร้างขึ้นแล้ว แต่จะไม่สามารถแก้ไขได้

ดูเพิ่มเติมที่ § Hiding the red links ด้านล่าง

หมายเหตุการแก้ไข[แก้]

สำหรับการสร้างหม่ยเหตุการแก้ไขใหม่ {{หมายเหตุการแก้ไข}} ใช้สำหรับเป็นแม่แบบในการสร้างหมายเหตุอย่างง่าย ดูที่หน้าแม่แบบสำหรับวิธีใช้ และดูที่หมวดหมู่:ระบบหมายเหตุการแก้ไข สำหรับแม่แบบอื่น ๆ

หน้าผู้ใช้และคุยกับผู้ใช้[แก้]

เมื่อแก้ไขหน้าผู้ใช้ {{base userpage editnotice}} จะแสดงขึ้นมา

สร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับหน้าผู้ใช้โดยใช้{{หมายเหตุการแก้ไขหน้าผู้ใช้}}

ตัวอย่าง:

กล่องนี้จะแสดงเหนือกล่องข้อความสำหรับแก้ไขเมื่อผู้ใช้ใด ๆ แก้ไขหน้าผู้ใช้ของตัวอย่าง โดยจะเปลี่ยนเป็นชื่อผู้ใช้ของคุณโดยอัตโนมัติ

ผู้ใช้ทุกคนสามารถสร้างหมายเหตุการแก้ไขสำหรับหน้าผู้ใช้หรือคุยกับผู้ใช้เองได้ (แต่หน้ารองของแม่แบบหมายเหตุการแก้ไข สามารถสร้างและแก้ไขได้เฉพาะผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติเท่านั้น) รูปแบบของหน้ารองจะเป็นเช่นนี้

ผู้ใช้:ตัวอย่าง/Editnotice
คุยกับผู้ใช้:ตัวอย่าง/Editnotice

คุณอาจลองสร้างหมายเหตุการแก้ไขของตัวเองได้โดยใช้ {{หมายเหตุการแก้ไข}} เป็นข้อความล่วงหน้าโดยใช้ลิงก์เหล่านี้:

สร้างสำหรับหน้าผู้ใช้ของคุณ
สร้างสำหรับหน้าคุยกับผู้ใช้ของคุณ

เนมสเปซอื่น[แก้]

หมายเหตุการแก้ไขของเมนสเปซอื่นและสำหรับหน้ารองผู้ใช้สามารถสร้างได้เฉพาะผู้ใช้ยืนยันอัตโนมัติเท่านั้น โดยมี 3 ชนิดดังนี้:

แบบเนมสเปซ สำหรับแสดงในทุกหน้าในเนมสเปซนั้น
แบบกลุ่ม แสดงในทุกหน้าที่เป็นหน้ารองของหน้าที่ระบุ
แบบเฉพาะหน้า แสดงเฉพาะในหน้าที่ระบุ

รูปแบบของชื่อหน้าจะเป็นเช่นนี้:

แบบเนมสเปซ ดูด้านล่าง
แบบกลุ่ม แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/กลุ่ม/<ชื่อเต็มของหน้าราก>
แบบเฉพาะหน้า แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/หน้า/<ชื่อเต็มของหน้ารวมเนมสเปซ>

สร้างหมายเหตุการแก้ไขใหม่[แก้]

ในการสร้างหมายเหตุการแก้ไขแบบอย่างง่ายสำหรับเนมสเปซ ให้กดที่ปุ่มสร้างด้านล่าง ส่วนการสร้างในแบบกลุ่มและแบบเฉพาะหน้า กรอกชื่อหน้าในกล่องแล้วกด "สร้าง" สำหรับหน้าผู้ใช้และหน้าคุยกับผู้ใช้ กดสร้างได้เลย

หมายเลข เนมสเปซ สำหรับแต่ละเนมสเปซ สร้าง
-1 พิเศษ:อีเมลผู้ใช้ มีเดียวิกิ:Emailpagetext
0 หลัก (บทความ) แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หลัก
1 พูดคุย แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/พูดคุย
2 ผู้ใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/ผู้ใช้ สร้างหมายเหตุการแก้ไขหน้าผู้ใช้ของคุณ
3 คุยกับผู้ใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยกับผู้ใช้ สร้างหมายเหตุการแก้ไขหน้าคุยของคุณ
4 วิกิพีเดีย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/วิกิพีเดีย
5 คุยเรื่องวิกิพีเดีย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องวิกิพีเดีย
6 ไฟล์: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนสเปซ/ไฟล์
7 คุยเรื่องไฟล์: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องไฟล์
8 มีเดียวิกิ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/มีเดียวิกิ
9 คุยเรื่องมีเดียวิกิ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องมีเดียวิกิ
10 แม่แบบ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/แม่แบบ
11 คุยเรื่องแม่แบบ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องแม่แบบ
12 วิธีใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/วิธีใช้
13 คุยเรื่องวิธีใช้: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องวิธีใช้
14 หมวดหมู่: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หมวดหมู่
15 คุยเรื่องหมวดหมู่: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องหมวดหมู่
100 สถานีย่อย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/สถานีย่อย
101 คุยเรื่องสถานีย่อย: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องสถานีย่อย
108 หนังสือ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/หนังสือ
109 คุยเรื่องหนังสือ: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องหนังสือ
118 ฉบับร่าง: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/ฉบับร่าง
119 คุยเรื่องฉบับร่าง: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องฉบับร่าง
828 มอดูล: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/มอดูล
829 คุยเรื่องมอดูล: แม่แบบ:หมายเหตุการแก้ไข/เนมสเปซ/คุยเรื่องมอดูล

How to request an editnotice[แก้]

To request the creation of an editnotice:

  • Open the edit window of the page on which you want the editnotice.
  • Place this code on the page: [[{{editnotice talkpagename}}]]
  • Preview the page, and without saving, follow the link you see. Your browser may ask if you wish to continue and lose the changes you made. You do.
  • Open the edit window of the editnotice's talkpage.
  • Add the exact markup you want for the editnotice, and below it write a short request for the person who deals with the request, and sign it.
  • Finally, place this template: {{edit template-protected}} at the top of the page, and when you are satisfied (use preview) that everything is correct, save the page.

Another way to find the link for an editnotice is to:

  • Open the edit window of the page where you want to create an editnotice.
  • Place this code on the page: [[{{editnotice pagename}}]]
  • Preview the page and follow the link to the editnotice.
  • This takes you to the editnotice's page. The request for creation should be made on the editnotice's talkpage.
  • Once at the talkpage, follow the latter steps in the first instructions.

Batch of identical editnotices[แก้]

If you need to display a batch of identical editnotices, please create a single template which you then transclude in each editnotice, to allow easier modification and maintenance. You can place such templates in Category:Editnotice templates.

แม่แบบ:Editnotice templates

When displayed[แก้]

Editnotices are displayed when editing a page, but because their content can also be useful when just viewing a page, they are also displayed in these cases:

  • Page notices are displayed on top of .css and .js pages in MediaWiki space. See for instance the notice at the top of MediaWiki:Common.css that begins "This is the CSS for all skins". The namespace notice is not displayed and MediaWiki space doesn't have group notices.
  • In any namespace, when a non-admin "views the source" of a protected page, or an IP-user views the source of a semi-protected page. The group and page notices are displayed, but not the namespace notices.

When the editnotices are shown in "view mode" the loading system feeds them "notice action = view". This can be used inside the editnotices like this:

{{#ifeq: {{{notice action|}}} | view
| <!-- A non-admin is "viewing the source" of a protected page -->
| <!-- A user with sufficient rights is editing the page -->
}}

Hiding the red links[แก้]

If you don't want to see the red "Group notice" and "Page notice" links, then add the below markup to your personal CSS, then wait a minute, then bypass your browser cache.

/* Hide the red "Group notice" and "Page notice" links. */
.editnotice-area .editnotice-redlink {
  display: none !important;
}

If you don't want to see any of the "Group notice" and "Page notice" links, then use this markup instead:

/* Hide all the "Group notice" and "Page notice" links. */
.editnotice-area .editnotice-link {
  display: none !important;
}

Notices[แก้]

When an editnotice is used on an article, people creating editnotices are advised to leave a message on the article's talk page for further discussion of the editnotice on the article.

The template {{active editnotice}} may be used to indicate that a non-user page has an active (non-blank) editnotice. Pages will then be added to Category:Pages with editnotices.

Listing editnotices[แก้]

Technical details[แก้]

Anything put on the pages MediaWiki:Editnotice-0 through MediaWiki:Editnotice-15 (or Editnotice-100 through Editnotice-109) will appear as an editnotice for every page in an entire namespace. Editnotice-0 is for mainspace pages, Editnotice-1 for the talk space pages, Editnotice-2 for user space pages, etcetera. See WP:Namespace for the meaning of all of the numbers.

The template {{editnotice load}} has been put on each of those MediaWiki namespace pages. The template causes each article to use a subpage specific to it as its editnotice rather than using a namespace-wide editnotice.

The editnotice load system uses two methods of storing the editnotices:

  • For User and User talk space the editnotice is stored as a subpage of the user or talk page named /Editnotice. This method allows users to edit these notices.
  • For all other namespaces and for user sub-pages the editnotice is stored as a subpage of Template:Editnotices. Template:Editnotices and its subpages are protected by the MediaWiki:Titleblacklist so that only admins, template editors, and page movers can create and edit them.

Although all of the namespaces could initially store editnotices directly as MediaWiki messages, this was found to cause performance issues as the MediaWiki namespace grew. The display of MediaWiki editnotices for namespaces that have the MediaWiki subpage feature has been disabled; even though an editnotice can be created as a MediaWiki message for these namespaces, it will not show. For consistency, and to keep the MediaWiki namespace clean, all editnotices are now stored as subpages of Template:Editnotices. This means we again can create editnotices for all namespaces.

Group notices stored as Template:Editnotices/Group/... can be created for pages in all namespaces except main (article), File (image), MediaWiki, and Category. The reason is that those namespaces don't have the MediaWiki subpage feature, thus group notices would not be meaningful in those namespaces. The talk spaces of those namespaces understand subpages and can use group notices, although group notices are usually not meaningful there either.

Edit intros[แก้]

Edit intros are similar to editnotices, but use different schemes:

A feature request at T85372 asks for per-category editnotices to make it much easier to add and maintain this kind of notices.

Emailnotice[แก้]

Emailnotices allow registered users with a confirmed email to display a custom message at Special:EmailUser for their username. Emailnotices are located at Special:MyPage/Emailnotice (uses). The system was implemented in MediaWiki:Emailpagetext after this discussion.

Protection notices[แก้]

The standard message displayed when the source of a protected page is being viewed may be replaced by creating a page of the form Template:Editnotices/Protection/<Full page name>. When this is done, the standard edit notices for the page will not be displayed by default; display them if necessary by including {{editnotice load|notice action = view}} in the custom protection notice.

This should generally only be used when the standard notice displayed by MediaWiki:Protectedpagetext and/or MediaWiki:Cascadeprotected is misleading users to file {{edit protected}} requests in the wrong place; for example, see the history of Template talk:Reflist prior to September 2011.

History[แก้]

Editnotices were introduced in r39120, 11 August 2008, MediaWiki 1.14.

This page may not be complete. Here are some links to more information:

Alternatives[แก้]

An alternative to an editnotice, not requiring any special privileges, is to insert one or more HTML comments into a page. This will be visible when a user is editing the page, but not in the page itself. The comment must be preceded by the characters <!-- and followed by -->.

Related templates[แก้]

↑↑↑