ผู้ใช้:Noktonissian/ทดลองเขียน/อักษรธรรมล้านนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อักษรธรรมล้านนา[แก้]

ประวัติ[แก้]

Nameboard of a Buddhist temple in Chiang Mai written with Lanna: Wat Mokhamtuang (and street number 119 in Thai)
Northern Thai inscription in Tai Tham script in Chiang Mai

อักษรธรรมมีรูปลักษณ์คล้ายคลึงกับอักษรมอญโบราณที่ใช้กันในอาณาจักรหริภุญไชยในพุทธศตวรรษที่ 19 (คริสตศตวรรษที่ 13) อักษรธรรมปรากฏพบครั้งแรกในศิลาจารึกวัดป่า ที่จังหวัดสุโขทัย โดยมีอายุย้อนหลังไปถึงปี พ.ศ.18xx (ค.ศ. 1376) หลัง โดยอักษรธรรมในจารึกนั้นใช้จารึกภาษาบาลีควบคู่กับภาษาไทยซึ่งใช้อักษรไทยสมัยสุโขทัย การใช้อักษรธรรมสำหรับเขียนภาษาล้านนานั้นปรากฏขึ้นก็เมื่อล่วงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 21 (คริสตศตวรรษที่ 15)

The Tai Tham script shows a strong similarity to the Mon script used by the Mon kingdom of Haripunjaya around the 13th century CE, in the present-day Lamphun Province of Northern Thailand. The oldest known document containing the Tai Tham script is dated to 1376 CE and was found in Sukhothai. The document is a bilingual inscription on a gold folio, containing one line of Pali written in the Tai Tham script, while the vernacular is written in the Siamese language, using the Sukhothai script. The Tai Tham script was adapted to write vernacular languages not later than the 15th century CE, most probably in Chiang Mai, in the Lan Na Kingdom.[1] The script spread from Lan Na to surrounding areas such as modern day Laos, Isan, Shan State and Sipsong Panna. Numerous local variants developed, such as the Lue variant (Sipsong Panna), the Khuen variant (Shan State) and the Tham Lao variant (Laos and Isan). The variants differ only slightly in appearance, and the system of writing has remained the same.[2] As the name suggests, the use of the Tham (Dharma) script in Lao was restricted to religious literature, either used to transcribe Pali, or religious treatises written in Lao intended solely for the clergy. Religious instructional materials and prayer books dedicated to the laity were written in Tai Noi instead. As a result, only a few people outside the temples were literate in the script. In Isan, evidence of the script includes two stone inscriptions, such as the one housed at Wat Tham Suwannakhuha in Nong Bua Lamphu, dated to 1564, and another from Wat Mahaphon in Maha Sarakham from the same period.[3]

A palm-leaf manuscript written in Tai Tham script. Collection of the Museum of Ethnology, Minzu University of China.

Most of the script is recorded on palm-leaf manuscripts, many of which were destroyed during the 'Thaification' purges of the 1930s; contemporaneously this period of Thai nationalisation also ended its use as the primary written language in Northern Thailand.[4] Although no longer in use in Isan, the alphabet is enjoying a resurgence in Northern Thailand, and is still used as the primary written script for the Tai Lü and Tai Khün languages spoken in the 'Golden Triangle' where Thailand, Laos, Burma and southern China meet. Its use is rather limited to the long-term monks in Laos and most materials published today are in the modern Lao script.[4]แม่แบบ:Brahmic

พยัญชนะ[แก้]

อักษรธรรมล้านนามีพยัญชนะ 43 ตัว แบ่งเป็นสามกลุ่ม คือ พยัญชนะในวรรค (ᨻ᩠ᨿᩢᨬ᩠ᨩᨶᨶᩲᩅᩢᨣ᩠ᨣ᩼), พยัญชนะอวรรค (ᨻ᩠ᨿᩢᨬ᩠ᨩᨶᩋᩅᩢᨣ᩠ᨣ᩼), และ พยัญชนะเพิ่ม โดยพยัญชนะในวรรคและพยัญชนะอวรรค เป็นกลุ่มอักขระที่วิวัฒนาการมาจากอักษรมอญโบราณซึ่งใช้สำหรับการเขียนภาษาบาลีและสันสกฤต ในทำนองเดียวกับอักษรเทวนาครี อักษรปัลลาวะ และ อักษรพม่า พยัญชนะในวรรคจะแบ่งได้เป็น 5 วรรค (ᩅᩢᨣ᩠ᨣ᩼) คือ วรรค ᨠ (ก), วรรค ᨧ (จ), วรรค ᨭ (ฏ), วรรค ᨲ (ต), วรรค ᨷ (ป) ส่วนพยัญชนะเพิ่มนั้น เป็นพยัญชนะที่ประดิษฐ์ขึ้นเพิ่มเติมสำหรับเขียนคำในภาษาตระกูลไท ซึ่งแต่เดิมจะไม่พบในภาษาบาลี อนึ่ง ในพจนานุกรม มักจัดเอาตัว ᩂ​ (ฤ) และ ᩄ (ฦ) เข้าไว้ในหมวดพยัญชนะด้วย โดยมีลำดับถัดมาจากอักษร ᩁ (ร) และ ᩃ (ล) ตามลำดับ แต่กระนั้น อักษรทั้งสองตัวนี้แท้จริงแล้วถือว่าเป็นอักขระแทนพยางค์ (syllabary) ไม่ใช่พยัญชนะแท้ นอกจากนี้อักษรธรรมล้านนายังมีพยัญชนะรูปพิเศษเช่น​ ᩕ​- (ร ควบ) ᩔ (สฺส)​ ᨬ᩠ᨬ (ญฺญ)​ ᩓ (แล) เป็นต้น อีกด้วย

ตารางพยัญชนะ[แก้]

อักษรธรรมล้านนามีพยัญชนะ 43 ตัว ได้แก่ พยัญชนะในวรรค 25 ตัว พยัญชนะอวรรค 10 ตัว และ พยัญชนะเพิ่ม 8 ตัว อย่างไรก็ดี อักษรไทยที่ปรากฏเป็นการปริวรรต (ถ่ายอักษร) เท่านั้น เสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษร ซึ่งอาจจะออกเสียงต่างไปจากอักษรไทย

นอกจากนี้ ในทำนองเดียวกับอักษรมอญและเขมร อักษรธรรมล้านนายังมีพยัญชนะรูปตัวเชิง ซึ่งเป็นรูปของพยัญชนะที่ใส่ไว้ใต้พยัญชนะหรือสระ เรียกว่า หาง (ᩉᩣ᩠ᨦ) ตัวซ้อน (ᨲ᩠ᩅᩫᨪᩬ᩶ᩁ) ตัวห้อย (ᨲ᩠ᩅᩫᩉᩬ᩠ᨿ᩶) หรือ ตัวเสียบ (ᨲ᩠ᩅᩫᩈ᩠ᨿᨷ) พยัญชนะตัวเชิงใส่ไว้เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวสะกดหรือห้ามไม่ให้พยัญชนะตัวข่ม (อักษรที่อยู่ด้านบนของตัวเชิง) ออกเสียงอะ (ในกรณีที่เขียนภาษาบาลีสันสกฤต) เช่น ᨻᩩᨴ᩠ᨵ (พุทฺธ) จะอ่านเป็น พุด-ทะ นอกจากนี้ ตัวเชิงของอักษร ᩅ​ (ว) ᨿ​ (ย) และ ᩋ​ (อ) ยังใช้เป็นรูปสระได้ด้วย ทั้งนี้ พยัญชนะในวรรคและอวรรคจะมีตัวเชิงทุกตัว และโดยทั่วไปก็มีลักษณะคล้ายเดิมกับพยัญชนะปกติ ยกเว้นบางตัวซึ่งเปลี่ยนรูปไป เช่น ตัวเชิงของ ᨮ​ (ฐ) ᨻ (พ) ᨷ​ (บ) ᨶ​ (น) ᨾ​ (ม) ᨿ​ (ย)​ ᩁ (ร) ᩋ​ (อ) อย่างไรก็ดี อักษรบางตัวเช่น ᩃ (ล)​ ᨷ (บ)​ ᩁ (ร) อาจจะมีรูปตัวเชิงมากกว่าหนึ่งแบบ ซึ่งตัวเชิงแต่ละแบบอาจมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันในแต่ละปริบทหรือตามความนิยม ตัวอย่างเช่น รูป ​◌᩠ᨷ​​ จะใช้ในกรณีที่เป็นตัวสะกด ส่วนรูป ◌ᩝ จะใช้ในกรณีที่เป็นคำสะกดแบบพิเศษ เช่น ᨣᩴ᩵ᩝ​ (ก็บ่) ส่วนพยัญชนะเพิ่ม (ซึ่งแสดงในแถวตารางสีเหลือง) จะไม่มีรูปตัวเชิงแต่อย่างใดเนื่องจากประดิษฐ์ขึ้นภายหลัง อนึ่ง ในการป้อนอักขระอักษรธรรมด้วยระบบยูนิโคด จะสามารถแปลงพยัญชนะเป็นรูปตัวเชิงได้ด้วยการป้อนสัญลักษณ์ สะกด (รหัสอักขระ U1A60) (◌᩠) ซึ่งในขณะที่ป้อน จะปรากฏเป็นสัญลักษณ์กากบาทอยู่ใต้อักษร[5][6]

ในส่วนของมาตราตัวสะกด อักษรธรรมล้านนาก็มีแม่ตัวสะกดเช่นดียวกับอักษรไทย คือ แม่กก แม่กบ แม่กด แม่กง แม่กม แม่เกย และ แม่เกอว โดยนิยมเรียกว่า แม่กัก แม่กับ แม่กัด แม่กัง แม่กัม แม่กัย และ แม่กัว อนึ่งอักษรธรรมล้านนาสามารถจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์ได้เช่นเดียวกับอักษรไทยและอักษรลาว

วรรค อักษร รูปตัวเชิง ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย แม่ตัวสะกด ปริวรรตเป็นอักษรละติน สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร พยัญชนะต้น ตัวสะกด พยัญชนะต้น ตัวสะกด
1.วรรค  ◌᩠ᨠ ก๋ะ [kǎ] แม่กก k k [k] [k̚] สูง
◌᩠ᨡ ข๋ะ, ฃ๋ะ [xǎ], [kʰǎ] แม่กก x, kh k [x], [kʰ] [k̚] สูง

[a]

ข๋ะ, ฃ๋ะ [xǎ] แม่กก x, kh [x] [k̚] สูง
◌᩠ᨣ ก๊ะ [ka᷇] แม่กก k k [k] [k̚] ต่ำ

[a]

คะ, ฅะ [xa᷇] แม่กก x, kh [x] [k̚] ต่ำ
◌᩠ᨥ คะ [xa᷇], [kʰa᷇] แม่กก x, kh k [x], [kʰ] [k̚] ต่ำ
◌᩠ᨦ งะ [ŋa᷇] แม่กง ng ng [ŋ] [ŋ] ต่ำ
2.วรรค  ◌᩠ᨧ จ๋ะ [t͡ɕǎ] แม่กด j, c t [t͡ɕ] [t̚] สูง
-᩠ᨨ ส๋ะ, ฉ๋ะ [sǎ], [t͡ɕʰǎ] - s, ch [s], [t͡ɕʰ] สูง
-᩠ᨩ จ๊ะ [t͡ɕa᷇] แม่กด j, c t [t͡ɕ] [t̚] ต่ำ

[a]

ซะ [sa᷇] แม่กด s t [s] [t̚] ต่ำ
, -᩠ᨫ ซะ, ชะ [sa᷇], [t͡ɕʰa᷄] แม่กด s, ch t [s], [t͡ɕʰa᷄] [t̚] ต่ำ
-᩠ᨬ ญะ

(เสียงนาสิก)

[ɲa᷇] แม่กน ny, y n [ɲ], [j][b] [n] ต่ำ
3.วรรค  -᩠ᨭ หละต๋ะ [lǎ.tǎ] ฏ, ฎ แม่กด t t [t] [t̚] สูง
, -᩠ᨮ , -ᩛ หละถ๋ะ [lǎ.tʰǎ] แม่กด th t [tʰ] [t̚] สูง
-᩠ᨯ ด๋ะ, ด๊ะ [dǎ] ฑ, ด แม่กด d, th[c] t [d], [tʰ][c] [t̚] กลาง
-᩠ᨰ หละทะ [lǎ.tʰa᷇] แม่กด th t [tʰ] [t̚] ต่ำ
-᩠ᨱ หละนะ [lǎ.na᷇] แม่กด n n [n] [n] ต่ำ
4.วรรค  -᩠ᨲ ต๋ะ [tǎ] แม่กด t t [t] [t̚] สูง
-᩠ᨳ ถ๋ะ [tʰǎ] แม่กด th t [tʰ] [t̚] สูง
-᩠ᨴ ต๊ะ [ta᷇] แม่กด t t [t] [t̚] ต่ำ
-᩠ᨵ ทะ [tʰa᷇] แม่กด th t [tʰ] [t̚] ต่ำ
-᩠ᨶ นะ [na᷇] แม่กน n n [n] [n] ต่ำ
5.วรรค  -᩠ᨷ , -ᩝ บ๋ะ [bǎ] แม่กบ b p [b][d] [p̚] กลาง
-᩠ᨷ ป๋ะ[e] [pǎ] แม่กบ p p [p][e][7][8] [p̚] สูง[8][7]

[a][f]

 – ผ๋ะ [pǎ] แม่กบ p p [p] [p̚] สูง
-᩠ᨹ ฝ๋ะ [pʰǎ] - ph  – [pʰ]  – สูง

[a]

 – ฟะ [fǎ] - f  – [f]  – สูง
-᩠ᨻ , -ᩛ ป๊ะ [pa᷇] แม่กบ p p [p] [p̚] ต่ำ

[a]

 – ฟะ [fa᷇] แม่กบ f p [f] [p̚] ต่ำ
-᩠ᨽ พะ [pʰa᷇] แม่กบ ph p [pʰ] [p̚] ต่ำ
-᩠ᨾ , -ᩜ มะ [ma᷇] แม่กม m m [m] [m] ต่ำ
6.อวรรค ᨿ -᩠ᨿ ญะ

(เสียงนาสิก)

[ɲa᷇] แม่เกย ny, y  – [ɲ], [j][b]  – ต่ำ

[a]

 – ยะ [jǎ] อย - y  – [j]  – กลาง
-᩠ᩁ , -ᩕ ระ, ละ [la᷇] ร, ล, ฮ แม่กน r,[g] l, h n [r],[c] [l],[c] [h] [n] ต่ำ
-᩠ᩃ​ , -ᩖ ละ [la᷇] แม่กน l n [l] [n] ต่ำ
-᩠ᩅ วะ [wa᷇] แม่เกอว w [w] ต่ำ
-᩠ᩆ ส๋ะ [sǎ] แม่กด s t [s] [t̚] สูง
-᩠ᩇ ส๋ะ [sǎ] แม่กด s t [s] [t̚] สูง
-᩠ᩈ , -ᩞ ส๋ะ [sǎ] แม่กด s t [s] [t̚] สูง
-᩠ᩉ หะ [hǎ] - h  – [h]  – สูง
-᩠ᩊ ละ [la᷇] แม่กน l n [l] [n] ต่ำ
, -ᩬ อ๋ะ [ʔǎ] -  –  – [ʔ]  – กลาง

[a]

 – ฮะ [ha᷇] - h  – [h]  – ต่ำ
Notes
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 พยัญชนะเพิ่มซึ่งประดิษฐ์ขึ้นสำหรับเขียนคำในภาษาตระกูลไท พยัญชนะเหล่าแท้จริงจะไม่จัดอยู่ในวรรค และไม่มีรูปตัวเชิง แต่ในที่นี้จะแทรกไว้ในแต่ละวรรคเพื่อให้เทียบเคียงกับอักษรไทยได้ง่าย
  2. 2.0 2.1 การออกเสียงเฉพาะในภาษาไตลื้อ
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 อิทธิพลจากภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาบาลีสันสฤต
  4. สำหรับเขียนคำในภาษาตระกูลไท
  5. 5.0 5.1 สำหรับเขียนคำที่รากศัพท์มาจากภาษาบาลีสันสฤต
  6. สำหรับเขียนคำที่มาจากภาษาตระกูลไทเท่านั้น ไม่ใช้สำหรับคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีสันสฤต
  7. นิยมปริวรรตเป็นอักษร ร สำหรับอักษรไทย หรือ r สำหรับอักษรละติน เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาไทยมาตรฐานหรือภาษาบาลีสันกฤต

พยัญชนะควบและพยัญชนะรูปพิเศษ[แก้]

พยัญชนะต้นควบระโรง[แก้]

พยัญชนะควบระโรงเทียบได้กับการควบกล้ำ ร เรือ ในภาษาไทย เพียงแต่การออกเสียงจะต่างกัน เนื่องจากพื้นเสียงของตัว ᩁ​ (ร) ในภาษาล้านนาตรงกับเสียง ᩌ​ (ฮ) ดังนั้นการควบด้วยระโรงจะทำให้เสียงของพยัญชนะต้นเปลี่ยนไปจากเสียงสิถิล (เสียงระเบิด) เช่น ก ต ป ก็จะกลายเป็นเสียงธนิต (เสียงเสียดแทรก) คือ ข ท พ เป็นต้น โดยจะเป็นเสียงสิถิลในหมวดไตรยางศ์เดียวกันเท่านั้น ดังนั้น อักษรควบ ᨠᩕ​ ᨡᩕ​ ᨣᩕ​ ᨲᩕ​ ᨴᩕ​ ᨷᩕ​ ᨻᩕ​ จึงสามารถแทนด้วยพยัญชนะที่เป็นคู่เสียงสิถิลก็ได้ ซึ่งได้แก่ ᨡ​ ᨢ​ ᨤ​ ᨳ​ ᨵ​ ᨹ​ ᨽ ตามลำดับ พบการเขียนในลักษณะแทนอักษรควบระโรงด้วยตัวอักษรคู่เสียงสิถิลได้ทั่วไปในอักขรวิธีล้านนา ตัวอย่างเช่นคำว่า ᩈᩘᨠᩕᩣᨶ᩠ᨲᩥ (สังกรานติ) นิยมเขียนเป็น​ ᩈᩘᨡᩣᨶ᩠ᨲᩥ (สังขานติ​) และสำหรับอักษรควบ ᨣᩕ ก็พบการใช้อย่างสลับสับสนกับตัว ᨤ ได้ทั่วไปเช่นกัน

อย่างไรก็ดี ตัวควบ ᨲᩕ (ตร) และ ᨴᩕ​ (ทร) ยังสามารถออกเสียงได้อีกแบบคือออกเสียงโดยมีเสียง ล ต่อท้ายอีกพยางค์หนึ่ง เช่น ᨲᩕᩣ᩠ᨷ​ (ตราบ) จะอ่านว่า ถะ-หลาบ แต่กระนั้น บางคำก็อ่านออกเสียงตามแบบปกติ เช่น ᨾᨴᩕᩦ​ (มัทรี) อ่านว่า มะ-ที ซึ่งวิธีการอ่านนั้นไม่มีกฎตายตัวกำหนด ผู้อ่านจำเป็นจะต้องอาศัยการจดจำ อนึ่ง ในกรณีของ ᩈᩕ​ (สร) และ ​ᩆᩕ​ (ศร) จะมีการอ่านออกเสียง ล ต่อท้ายอีกพยางค์ได้แบบเดียวเท่านั้น เช่น ᩈᩕᩦ (สรี) จะอ่านว่า สะ-หลี

ในกรณีของ ᩉᩕ​ (หร) ควบระโรงนั้น จะมีรูปเดียวกับ ห นำ ร แต่การอ่านออกเสียงต่างกัน หากเป็นอักษรควบระโรง จะทำให้ออกเสียง ห คงเดิม หรือเปลี่ยนเป็นเสียง ฮ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับปริบท ในเอกสารโบราณบางฉบับ พบการใช้ หร แทน ห เลยก็มี sometimes as a hypercorrection. [กรรณิการ์ วิมลเกษม]

อักษร ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร แบบเน้นเสียงอ่าน แบบเน้นนิรุกติ
ᨠᩕ ข๋ะ, ฃ๋ะ [xǎ], [kʰǎ] กฺร kh, x kr [x] สูง
ᨡᩕ ข๋ะ, ฃ๋ะ [xǎ], [kʰǎ] ขฺร kh, x khr [x] สูง
ᨣᩕ คะ, ฅะ [xa᷇], [kʰa᷇] คฺร kh, x khr [x] ต่ำ
ᨲᩕ ถ๋ะหล๋ะ [tʰǎ.lǎ] ตฺร thl tr [tʰl] สูง
ᨴᩕ ทะละ [tʰa᷇.la᷇] ทฺร thl thr [tʰl] ต่ำ
ᨷᩕ ผ๋ะ [pʰǎ] ปฺร ph pr [pʰ] สูง
ᨻᩕ พะ [pʰa᷇] พฺร ph phr [pʰ] ต่ำ
ᩈᩕ ส๋ะหล๋ะ [sǎ.lǎ] สฺร sl sr [sl] สูง
ᩆᩕ ส๋ะหล๋ะ [sǎ.lǎ] ศฺร sl shr [sl] สูง
ᩉᩕ ห๋ะ [hǎ] หฺร, ห h h [h] สูง
ฮะ [ha᷇] หฺร, ฮ h h [h] ต่ำ

พยัญชนะต้นควบตัววะ[แก้]

การควบตัววะ เขียนได้โดยนำตัววะ ไปซ้อนไว้ใต้พยัญชนะต้น ภาษาล้านนาพบการควบกล้ำด้วยเสียง ว มากกว่าในภาษาไทย เช่นเสียง ตว ดว งว ยว โดยพบมากถึง 12 เสียง และมีรูปพยัญชนะควบถึง 21 รูป ในสำเนียงบางท้องถิ่น หรือในบางครั้ง เสียงควบวะก็เลื่อนกลายเป็นสระอัว หรือสระอา เช่น ชว้าย กลายเป็น ช้วย, ควัน กลายเป็น ควน, หรือ อว่าย กลายเป็น งว้าย หรือ หว้าย ก็ได้

อักษร ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร
ᨠ᩠ᩅ กว๋ะ [kwǎ] กว kw [kw] สูง
ᨡ᩠ᩅ ขว๋ะ, ฃว๋ะ [xwǎ] ขว khw, xw [xw] สูง
ᨢ᩠ᩅ ขว๋ะ, ฃว๋ะ [xwǎ] ฃว khw, xw [xw] สูง
ᨣ᩠ᩅ กว๊ะ [kwa᷇] คว kw [kw] ต่ำ
ᨤ᩠ᩅ ควะ, ฅวะ [xwa᷇] ฅว khw, xw [xw] ต่ำ
ᨦ᩠ᩅ งวะ [ŋwa᷇] งว ngw [ŋw] ต่ำ
ᩉ᩠ᨦ᩠ᩅ หฺงวะ [ŋwǎ] หฺงว ngw [ŋw] สูง
ᨧ᩠ᩅ จว๋ะ [t͡ɕwǎ] จว jw, chw [t͡ɕw] สูง
ᨩ᩠ᩅ จว๊ะ [t͡ɕwa᷇] ชว jw, chw [t͡ɕw] ต่ำ
ᨪ᩠ᩅ ซวะ [swa᷇] ซว sw [sw] ต่ำ
ᨯ᩠ᩅ ดว๋ะ [dwǎ] ดว dw [dw] กลาง
ᨲ᩠ᩅ ตว๋ะ [twǎ] ตว tw [tw] สูง
ᨴ᩠ᩅ ตว๊ะ [tʰwa᷇] ทว thw [tʰw] ต่ำ
ᨶ᩠ᩅ นวะ [nwa᷇] นว nw [nw] ต่ำ
ᩀ᩠ᩅ ยว๋ะ, อฺยว๋ะ [jwǎ] อฺยว yw [jw] กลาง
ᨿ᩠ᩅ ญวะ (เสียงนาสิก) [ɲwa᷇] ยว nyw, yw, gnw [ɲw] ต่ำ
ᩉ᩠ᨿ᩠ᩅ หฺญวะ (เสียงนาสิก) [ɲwǎ] หฺยว, หฺญว nyw, yw, gnw [ɲw] สูง
ᩁ᩠ᩅ ลวะ [lwa᷇] รว rw, lw [lw] ต่ำ
ᩃ᩠ᩅ ลวะ [lwa᷇] ลว lw [lw] ต่ำ
ᩈ᩠ᩅ สว๋ะ [swǎ] สว sw [sw] สูง
ᩋ᩠ᩅ อว๋ะ [ʔwǎ] อว ʔw [ʔw] ต่ำ

พยัญชนะควบตัวละ[แก้]

การเขียนพยัญชนะต้นควบตัวละ (ᩃ) จะใช้รูปตัวเชิงตัวละหน้อย (◌ᩖ) หรือรูปตัวละเสียบ​ (-᩠ᩃ) ซ้อนไว้ใต้พยัญชนะ ในทำนองเดียวกับอักษรลาว อย่างไรก็ตาม ในภาษาล้านนาปัจจุบันนั้น พยัญชนะควบตัวละถือเป็นพยัญชนะควบไม่แท้ เพราะจะไม่ออกเสียงควบกล้ำ ล แต่อย่างใด โดยยังคงออกเสียงตามเสียงพยัญชนะต้นเช่นเดิม เสมือนไม่มีการควบ เช่น คำว่า ​ᨸᩖᩦ (ปลี) หรือ​ ᨸᩦ (ปี) ก็ล้วนแต่ออกเสียงว่า ปี๋ ทั้งคู่ และด้วยเหตุนี้ การใช้พยัญชนะควบตัวละจึงเกิดความลักลั่นไม่เป็นระเบียบนัก ในพจนานุกรมล้านนา-ไทยฉบับแม่ฟ้าหลวง ได้มีความพยายามในการจัดระเบียบการสะกดคำเหล่านี้ โดยอาศัยเทียบเคียงกับคำควบกล้ำ ล ในภาษาไทย หรือภาษาตระกูลไทอื่น ๆ เช่น คำว่า ᨾ᩶ᩣ᩠ᨦ (ม้าง, แปลว่า ทำลาย) พจนานุกรมจะแนะนำให้เขียนว่า ᨾᩖ᩶ᩣ᩠ᨦ มล้าง เพื่อแสดงถึงนิรุกติศาสตร์ของคำ

อักษร ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร แบบเน้นเสียงอ่าน แบบเน้นนิรุกติ
ᨠᩖ ᨠ᩠ᩃ ก๋ะ [kǎ] กฺล k kl [k] สูง
ᨣᩖ ᨣ᩠ᩃ ก๊ะ [ka᷇] คฺล k kl [k] ต่ำ
ᨸᩖ ᨸ᩠ᩃ ป๋ะ [pǎ] ปฺล p pl [p] สูง
ᨹᩖ ᨹ᩠ᩃ ผ๋ะ [pʰǎ] ผฺล ph phl [pʰ] สูง
ᨻᩖ ᨻ᩠ᩃ ป๊ะ [pa᷇] พฺล p pl [p] ต่ำ
ᨽᩖ ᨽ᩠ᩃ ภะ [pʰa᷇] ภฺล ph phl [pʰ] ต่ำ
ᨾᩖ ᨾ᩠ᩃ มะ [ma᷇] มฺล m ml [m] ต่ำ

พยัญชนะกลุ่ม ห นำ[แก้]

อักษรต่ำบางตัว ได้แก่ ᨦ​ (ง) ᨶ​ (น)​​ ᨾ (ม)​ ᨿ (ย) ᨬ​ (ญ) ᩁ​ (ร) ᩃ​ (ล) ᩅ​ (ว) จะไม่มีคู่อักษรสูงสำหรับผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ อักษรเหล่านี้เรียกว่าอักษรต่ำเดี่ยว ดังนั้นเพื่อให้สามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ คู่อักษรสูงของอักษรเหล่านี้จะอยู่ในรูป ᩉ​ (ห) นำ โดยมีอักษรตัวตามอยู่ในรูปตัวเชิง ดังแสดงในตาราง โดยสำหรับอักษร ᨬ​ (ญ) จะนิยมใช้รูป ᩉ᩠ᨿ (หย) แทน[9]

อักษร ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน

(พยัญชนะต้น)

สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร
ᩉ᩠ᨦ หง๋ะ [ŋǎ] หง ng [ŋ] สูง
ᩉ᩠ᨶ หน๋ะ [nǎ] หน n [n] สูง
ᩉ᩠ᨾ หม๋ะ [mǎ] หม m [m] สูง
ᩉ᩠ᨿ หญ๋ะ

(เสียงนาสิก)

[ɲǎ] หย, หญ ny [ɲ], [j][a] สูง
ᩉᩕ หร๋ะ, หล๋ะ, ห๋ะ [rǎ], [lǎ], [hǎ] หร r,[b] l, h [r],[c] [l],[c] [h] สูง
ᩉᩖ​, ᩉ᩠ᩃ หล๋ะ [lǎ] หล l [l] สูง
ᩉ᩠ᩅ หว๋ะ [wǎ] หว w [w] สูง
Notes
  1. In Tai Lue language
  2. Often transliterated as 'r' to preserve the semantics for Thai and Pali-Sanskrit words.
  3. 3.0 3.1 Influence from Thai, Pali, and Sanskrit languages.

พยัญชนะควบกล้ำ[แก้]

อักษรนำ[แก้]

อักษร ชื่ออักษร ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน

(พยัญชนะต้น)

สัทอักษร ไตรยางศ์
คำอ่าน สัทอักษร
ᨡ᩠ᨶ᩻ [ŋǎ] ขนะ ng [ŋ]
ᨡ᩠ᨾ᩻ [ɲǎ] ขมะ ny [ɲ], [j][a]
ᨡ᩠ᨿ᩻ [lǎ] ขยะ l [l]
ᨧ᩠ᩃ᩻ จละ
ᨳ᩠ᨶ᩻ [nǎ] ถมะ n [n]
ᨳ᩠ᩃ᩻
ᨳ᩠ᩅ᩻ ถวะ
ᨲᩕ᩠ᩅ᩻ ตระหวะ
ᨸ᩠ᩃ᩻ ปะหละ
ᩈ᩠ᨶ᩻ [mǎ] สนะ m [m]
ᩈ᩠ᨾ᩻ [rǎ], [lǎ], [hǎ] สมะ r,[b] l, h [r],[c] [l],[c] [h]
ᩈ᩠ᩅ᩻ สวะ
ᩈ᩠ᨿ᩻ [wǎ] สยะ w [w]
ᩈ᩠ᨦ᩻ สงะ
ᩈ᩠ᩃ᩻ สละ
ᨹ᩠ᨦ᩻ ผงะ
ᨨ᩠ᩃ᩻ ฉละ
ᨪ᩠᩻ᩃ ซละ
ᨹ᩠ᩃ᩻ ผละ

พยัญชนะรูปพิเศษ[แก้]

อักษร ชื่ออักษร หน่วยเสียงทางสัทอักษร หมายเหตุ
อักษรธรรม ปริวรรตเป็นอักษรไทย ปริวรรตเป็นอักษรละติน สัทอักษร
, [d] ᩃᩯᩡ,​ ᩃᩯ และ, แล lae [lɛ̄ː] [lɛʔ], [lɛ̄ː] อักษร ᩃ (ล) เชื่อมกับรูปสระ ᩮ​ (เ) ซึ่งเขียนเป็นตัวยกไว้ด้านบน อักษร แล ยังมีรูปตัวเชิงด้วยคือ ◌᩠ᩓ จัดว่าเป็นอักขรวิธีพิเศษ สำหรับเขียนคำว่า​ ᨩ᩠ᩓ (ชะแล ย่อมาจาก เช่นนั้นแล)
ᨶᩣ ᨶᩣ นา naa [nāː] [nāː] อักษร ᨶ (น) เชื่อมกับรูปสระ ᩣ (า).
ᨬ᩠ᨬ ᨬᨬ ญะญะ nya nya [ɲa᷇ʔ ɲa᷇ʔ] [n.ɲ] อักษร ᨱ​ (ณ) เชื่อมกับ ᨬ​ (ญ) สำหรับแทนตัว ᨬ ซ้อนสองตัว
ᩈ​​​ ᩈᩬᨦᩉᩬ᩶ᨦ สะ สองห้อง sa song hong [sǎː sɔ̌ːŋ hɔ᷇ːŋ] [t̚.s], [s̚.s] อักษระ ᩈ​​ (ส) สองตัวเชื่อมติดกัน
ᩁᩁᩰᩫ᩠ᨦ ระโรง, ระโฮง rarong, rahong [la᷇.hōːŋ] [r], [l], [ʰ] ระโรงเป็นรูปของตัว ᩁ (ร) ซึ่งใช้สำหรับเป็นอักษรควบโดยเฉพาะ เช่นในกรณีของ ᨷᩕ​ (ปฺร) ᨻᩕ​ (พฺร) ส่วนรูปตัวเชิง -᩠ᩁ​​ จะใช้เฉพาะกรณีที่เป็นตัวสะกด
Notes
  1. In Tai Lue language
  2. Often transliterated as 'r' to preserve the semantics for Thai and Pali-Sanskrit words.
  3. 3.0 3.1 Influence from Thai, Pali, and Sanskrit languages.
  4. Khuen/Lue style.


สระลอย[แก้]

สระลอยคือรูปสระที่ออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องประสมกับพยัญชนะ สระลอยในอักษรธรรมล้านนามีใช้สำหรับเขียนภาษาบาลีสันสกฤตเป็นหลัก เว้นแต่รูปสระ ᩐᩣ (เอา) ซึ่งเป็นรูปสระพิเศษแทนคำว่า เอา ซึ่งเป็นคำภาษาตระกูลไท ไม่ใช้กับคำภาษาบาลีสันสกฤต[10]

อักษรธรรม ปริวรรต

เป็นอักษรไทย

สัทอักษร
อะ /áʔ/
ᩋᩣ อา /āː/
อิ /íʔ/
อี /īː/
อุ /úʔ/
อู /ūː/
เอ /ēː/
โอ /ōː/
ฤ, ฤๅ /li/, /lɯ̄ː/,

/lɯ᷇ʔ/, /lɤː/[10]

ฦ, ฦๅ
ᩐᩣ เอา /aw/

สระพิเศษสำหรับภาษาสันสกฤต[แก้]

อักษรธรรมล้านนานั้นแต่หนเดิมได้ถูกประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้เขียนภาษาบาลีก่อนเป็นเบื้องแรก ดังนั้นจึงใช้เขียนภาษาบาลีได้อย่างราบรื่น แต่ทว่าการณ์มิได้เป็นเช่นนั้นสำหรับภาษาสันสกฤต เนื่องจากการใช้อักษรธรรมเขียนภาษาสันสกฤตนั้นได้เกิดขึ้นในสมัยหลัง และแม้โดยพื้นฐานแล้วภาษาสันสกฤตจะใกล้เคียงกับภาษาบาลีมาก แต่ก็มีเสียงสระที่เพิ่มขึ้นมาคือ สระไอ และ สระเอา เพื่อให้สามารถเขียนภาษาสันสฤกตได้ จึงมีการดัดแปลงไม้แก๋ (รูปสระแอ) สำหรับใช้แทนเสียง สระไอ และ สระเอา ในภาษาสันสกฤต ดังตารางด้านล่าง จากหลักฐานจะพบเพียงรูปสระจมของสระทั้งสองนี้เท่านั้น ไม่พบรูปสระลอย และรูปสระ ᩐᩣ​ ก็จะไม่นำไปใช้กับภาษาสันสฤต นอกจากนี้ยังมีการประดิษฐ์รูปสระจมของตัว ฤ ขึ้นใช้สำหรับภาษาสันสกฤตด้วย โดยอักขระนี้มีอาจรูปร่างคล้ายหางป๊ะ (◌ᩛ) หรือเขียนเป็นตัว ᩂ อยู่ใต้พยัญชนะ ​[11]

สระจม อักษรธรรม

(จำลองการสะกดด้วยตัว ᨠ)

ไอ /ai/ ᨠᩯ
เอา /au/ ᨠᩯᩣ
ฤ /ṛ/ ᨠ᩠ᩂ

ᩈᩕ[แก้]

ᩈᩕ​ᨡ᩠ᨿᩁ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᨲᩲ᩶​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᨷᩫ᩠ᨶ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᩓ​ᨲᩣ᩠ᨾ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ​ᨲ᩠ᩅᩫ​ᨴᩱ᩠ᨿ ᨾᩦ​ᩋᨠ᩠ᨡᩁ​ᩅᩥᩈᩮ᩠ᩈ​ᨴᩦ᩵​ᨩᩲ᩶​ᨯᩱ᩶​ᨴᩯ᩠ᨶ​ᨲ᩠ᩅᩫ ᩋ ᨠᩢ᩠ᨷ​ᩈᩕ ᩋᨠ᩠ᨡᩁ​ᨲ᩠ᩅᩫ​ᩉ᩠ᨶᩦ᩶​ᩁ᩠ᨿᨠ​ᩅ᩵ᩤ​ "ᩈᩕ​ᩃᩬ᩠ᨿ" ᨩᩲ᩶​ᨲ᩠ᩅᩫ​ᩈᩕ​ᨹᩈᩫ᩠ᨾ​ᨠᩢ᩠ᨶ​ᩓ​ᨹᩈᩫ᩠ᨾ​ᨠᩢ᩠ᨷ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᨻᩮᩬᩥ᩵ᩋ​ᨡ᩠ᨿᩁ​ᩉᩖᩣ᩠ᨿ​ᩈ᩠ᨿᨦ​ᩈᩕ

ᩈᩕ​ᩃᩬ᩠ᨿ (ᨷᩤᩃᩦ)[แก้]

ᩁᩪ᩠ᨷ ᨩᩨ᩵ ᨳᩬᨯ​ᩋᨠ᩠ᨡᩁ ᩈ᩠ᨿᨦ
ᩋ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ /áʔ/
ᩋᩣ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ อา /āː/
ᩋᩥ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ อิ /íʔ/
ᩋᩦ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ อี /īː/
ᩋᩩ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ อุ /úʔ/
ᩋᩪ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ อู /ūː/
ᩋᩮ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ เอ /ēː/
ᩋᩰ ᨷᩯ᩠ᨷ​ᨷᩤᩃᩦ โอ /ōː/
ᩃᩧ ฤ,ฤๅ (ฤๅ) /lɯ᷇ʔ/
ᩃᩨ /lɯ̄ː/

ᨸᩮ᩠ᨶ​ᩈᩕ​ᨴᩦ᩵​ᨾᩣ​ᨧᩣ᩠ᨠ​ᨽᩣᩈᩣ​ᨷᩤᩃᩦ ᩈᩣᨾᨲ᩠ᨳ ᩋᩬᨠ​ᩈ᩠ᨿᨦ​ᨯᩱ᩶​ᨯᩰᩫ᩠ᨿ​ᨲ᩠ᩅᩫ​ᩋᩮ᩠ᨦ​ᨷ᩵​ᨧᩣᩴᨸᩮ᩠ᨶ​ᨲᩬ᩶ᨦ​ᨶᩣᩴ​ᨻᩱ​ᨹᩈᩫ᩠ᨾ​ᨠᩢ᩠ᨷ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᨠᩬ᩵ᩁ ᨲᩯ᩵​ᨷᩢ᩠ᨦ​ᨴᩦแม่แบบ:Wp/nod/ᨿᩣ᩠ᨠ​ᨠᩣ᩠ᩁ​ᨶᩣᩴ​ᨻᩱ​ᨹᩈᩫ᩠ᨾ​​ᨠᩢ᩠ᨷ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᩁᩂ​ᩈᩕ​ᨴᩯ᩶ ᨩᩮ᩠᩵ᨶ ᨣᩤᩴ​ᨴᩦ᩵​ᨾᩦ​ᩈ᩠ᨿᨦ​ᩅ᩵ᩤ ᩋᩮᩢᩣ ᩈᩣᨾᨲ᩠ᨳ​ᨡ᩠ᨿᩁ​ᨯᩱ᩶​ᨯᩰᩫ᩠ᨿ​ᨡ᩠ᨿᩁ​ᩈᩕ​ᨧᩣ᩠ᨠ​ᨽᩣᩈᩣ​ᨷᩤᩃᩦ​ᨣᩨ แม่แบบ:Wp/nod/ᩀ᩵ᩣᨳᩬᨯ ᨲᩣ᩠ᨾ​ᨯ᩠ᩅ᩠᩶ᨿ ᩈᩕ​ᨴᩯ᩶ แม่แบบ:Wp/nod/ᩀ᩵ᩣᨳᩬᨯ ᨣᩨ แม่แบบ:Wp/nod/ᩀ᩵ᩣᨳᩬᨯ

พยัญชนะสะกดแบบพิเศษ[แก้]

รูปอักษร ชื่อเรียก ปริวรรต มาตราตัวสะกด สัทอักษร ตัวอย่าง อักขรวิธี หมายเหตุุ
ปกติ ตัวสะกดพิเศษ ใช้ตัวสะกดพิเศษ รูปปกติ ปริวรรต
ไม้กั๋ก -ก แม่กก /k/ ᨯᩬᩢ ᨯᩬᨠ ดอก ล้านนา, ไทเขิน, ไทลื้อ เรียก ไม้กั๋ก () อีกแบบหนึ่ง
-ก แม่กก ล้านนา, ไทเขิน, ไทลื้อ เรียก ไม้กั๋ก () อีกแบบหนึ่ง
-ก แม่กก ลาว, อีสาน พบในอักษรธรรมลาว
-ง แม่กง /ŋ/ ᨩ᩠ᨿᩙᨲᩩᩴ ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ เชียงตุง ไทเขิน, ไทลื้อ
ไม้กั๋งมน รูปตัว งะ แต่มีหางตวัดขึ้นด้านบน
ไม้กั๋งไหล
-ร, -น แม่กน /n/ ᨾ᩠ᩅ᩺᩵ ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ ม่วร ไทเขิน, ไทลื้อ
พะ คัพพะ -พ, -บ แม่กบ /p/ คัพพะ (ครรภ์) ไทลื้อ
ตั๋วป๊ะหลวง -พ, -บ นิยมใช้กับคำบาลีสันสฤกตที่สะกดด้วย พ
-ว แม่เกอว /w/ ᨯ᩠ᨿᩴ ᨯ᩠ᨿᩅ เดียว ไทเขิน, ไทลื้อ

หมายเหตุ หมายถึงพบบ่อยในอักขรวิธีแบบเหล่านี้ แต่ไม่ได้จำกัดเท่านั้น สัญลักษณ์เหล่านี้อาจจะพบได้ในอักขรวิธีทุกแบบ เพราะล้านนามีการอพยพหากัน


ᨾᩱ᩶​แม่แบบ:Wp/nod/ᨿᩣ᩠ᨠᨴᩤᩴ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣᨴᩦ᩵​ᩈᩬᨦ​ᩀ᩵ᩣ᩠ᨦ​ᨯᩱ᩶ ᨣᩨ​ᨸᩮ᩠ᨶ​ᩈᩕ​ᩓ​ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ ᨩᩮ᩠᩵ᨶ แม่แบบ:Wp/nod/ᩈᨯᩯ᩠ᨦᨣᩤᩴ ᩋ᩵ᩣ᩠ᨶ​ᩅ᩵ᩤ ᩁᩢ᩠ᨠ

ᨻ᩠ᨿᨬ᩠ᨩᨶ​ᩅᩥᩈᩮ᩠ᩈ (ᨨᨻᩕᩰᩬᩡ)[แก้]

อักขระวิธีพิเศษ[แก้]

อักขระวิธีพิเศษ คือการสะกดคำโดยใช้รูปพิเศษที่ไม่ตรงกับหลักอักขรวิธี โดยส่วนมากมักเป็นไปในลักษณะของการสะกดคำแบบย่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้รูปตัวเชิงซึ่งไม่ตรงกับอักขรวิธีปกติ มักมีจุดประสงค์เพื่อประหยัดเวลาในการเขียนคำที่ใช้บ่อย และมักจะพบคำประเภทนี้ได้ทั่วไปในงานเขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา ตัวอย่างที่พบบ่อยเช่นคำว่า ᨧᩢ᩠ᨠ​ (จัก) ซึ่งมักจะย่อเป็น ᨧᩢ (จั) ทั้งนี้ ในบางครั้งอาจมีการประดิษฐ์สัญลักษณ์พิเศษขึ้นมาแทนคำ เช่น สัญลักษณ์ ᪠​ (เวียง) แทนคำว่า เวียง หรือ เมือง โดยตัวอย่างของอักขระวิธีพิเศษ จะแสดงไว้ในตารางดังนี้

ตัวอย่างคำที่สะกดด้วยอักขรวิธีพิเศษ
อักขรวิธีพิเศษ อักขรวิธีปกติ ปริวรรติอักษรไทย ความหมาย
ᨧᩢ ᨧᩢ᩠ᨠ จัก จะ
ᨣᩴᩝ ᨣᩴ᩵ᨷᩴ᩵ ค็บ่ ก็ไม่
ᨣ᩠ᨯᩦ ᨣᩴ᩵ᨯᩦ ค็ดี ก็ดี
ᨷ᩠ᨯᩦ ᨷᩴ᩵ᨯᩦ บ่ดี ไม่ดี
ᩓ᩠ᩅ ᩃᩯ᩠ᩅ᩶ แล้ว แล้ว
ᨻᩱ᩠ᨾᩣ ᨻᩱᨾᩣ ไพมา ไปมา
ᩅ᩠ᨿᨦ เวียง เวียง
᪭ᩣ ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ ช้าง ช้าง
᪒᪂ ᨡᩮᩢ᩶ᩣᨡᩬᨦᨦᩮᩥ᩠ᨶᨤᩣᩴ เข้าของเงินฅำ ทรัพย์สินเงินทอง
ᨡᨲᨯᨾ ᨡᩮᩢ᩶ᩣᨲᩬᨠᨯᩬᨠᨾᩱ᩶ เข้าตอกดอกไม้ ข้าวตอกดอกไม้
  1. Hundius, Harald; Wharton, David (2010). "The Digital Library of Lao Manuscripts". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  2. Iijima, Akiko (2009-03-31). "Preliminary Notes on "the Cultural Region of Tham Script Manuscripts"". Senri Ethnological Studies. 74. doi:10.15021/00002574. S2CID 160928923.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Dharma
  4. 4.0 4.1 McDaniel, J. (2005). Notes on the lao influence on northern thai buddhist literature. The literary heritage of Laos: Preservation, dissemination, and research perspectives. Vientiane, Laos: Lao National Archives.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Everson2007
  6. Chew, P., Saengboon, P., & Wordingham, R. (2015). "Tai Tham: A Hybrid Script that Challenges Current Encoding Models". Presented at the Internationalization and Unicode Conference (IUC 39).
  7. 7.0 7.1 The Lanna Dictionary. Chiang Mai: Chiang Mai Rajabhat University. 2007. pp. 305–314. ISBN 9789747793567.
  8. 8.0 8.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ mfl
  9. Watcharasastr, Boonkid (2005). แบบเรียนภาษาเมืองล้านนา ᨷᩯ᩠ᨷᩁ᩠ᨿᩁᨽᩣᩇᩣᨾᩮᩬᩨᨦᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ. Chiang Mai: Thara Thong Publishing. p. 20. ISBN 9748547205.
  10. 10.0 10.1 Watcharasastr, Boonkid (2005). แบบเรียนภาษาเมืองล้านนา ᨷᩯ᩠ᨷᩁ᩠ᨿᩁᨽᩣᩇᩣᨾᩮᩬᩨᨦᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ. Chiang Mai: Thara Thong Publishing. p. 24. ISBN 9748547205.
  11. นาคสุข, ยุทธพร (4 สิงหาคม 2563). "อักษรธรรมล้านนาที่ประดิษฐ์ขึ้นเพิ่มเติมเพื่อใช้เขียนภาษาสันสกฤต". Humanities & Social Sciences. 37: 297–344.