ผู้ใช้:ปาณิศา/ไวยากรณ์ภาษาละติน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภายหลังนี้เป็นไวยากรณ์ภาษาละตินที่เรียนตามโรงเรียน คือภาษาละตินสมัย ก่อนค.ศ. 100

โครงเมนู

กลุ่มคำที่มีการผัน (declinatio)[แก้]

คำนาม (substantiva nomina)[แก้]

การก (casus)[แก้]

การก คือหน้าที่ของคำนาม ภาษาละตินแบ่งการกเป็นดังนี้

  • Nominativus คือ คำนามนั้นเป็นประธานประโยค เป็นผู้กระทำในประโยค

ตัวอย่าง: Filius Publium laudat.( ฟิลีอูสชมพูบลีอูส )

  • Genitivus คือ คำนามนั้นแสดงการเป็นเจ้าของ

ตัวอย่าง: Italia patria multorum populorum est. (อิตาลี่เป็นบ้านเกิดของหลายคน )

  • Dativus คือ คำนามนั้นเป็นกรรมรอง

ตังอย่าง: Vici repudis (เธอหย่าจาก ผู้ชายคนนั้น)

  • Accusativus คือ คำนามนั้นเป็นกรรงตรง

ตัวอย่าง: Filius Publium laudat. (ฟิลีอูสชมพูบลีอูส )

  • Ablativus คือคำนามนั้นเป็นแหล่งหรือเป็นที่เกิด

ตัวอย่าง: Filius in campīs labōrat. (ฟีลีอูสทำงานที่นา )

  • Vocativus คือคำนามนั้นเป็นที่ถูกเรียก (ไม่ค่อยสำคัญ)
  • Locativus คือคำนามนั้นเป็นสถานที่ (ไม่ค่อยสำคัญ)

กลุ่มการผัน[แก้]

คำนามภาษาละตินแยกตามการผันเป็นทั้งหมดห้ากลุ่ม

  • กลุ่มที่ 1 a
  • กลุ่มที่ 2 o
  • กลุ่มที่ 3
    • i
    • ผสม
    • cons.
  • กลุ่มที่ 4 u
  • กลุ่มที่ 5 e

คุณศัพท์(adiectiva nomina)[แก้]

สรรพนาม(promina)[แก้]

คำแสดงจำนวนนับ (numeri)[แก้]

คำกริยา (verba)[แก้]

กลุ่มคำที่ไม่มีการผัน[แก้]

คำกริยาวิเศษณ์(adverbia)[แก้]

คำบุพบท(praepositio)[แก้]

คำสันธาน(coniunction)[แก้]