ท่ากรรเชียง 200 เมตรในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่ากรรเชียง 200 เมตร
ในโอลิมปิก
รูปสัญลักษณ์กีฬาว่ายน้ำ
ภาพรวม
กีฬาว่ายน้ำ
เพศชายและหญิง
ปีที่จัดชาย: 1900, 19642016
หญิง: 19682016
ผู้ชนะล่าสุด
ชายสหรัฐ ไรอัน เมอร์ฟี (USA)
หญิงสหรัฐ มายา ดิราโด (USA)

การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำรายการท่ากรรเชียง 200 เมตร เป็นการแข่งขันกีฬาในโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันประเภทชายเปิดตัวในปี ค.ศ. 1900 และไม่จัดขึ้นอีกจนถึงปี ค.ศ. 1964 โดยมีการแข่งท่ากรรเชียง 100 เมตรมาแทนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1904 ถึง ค.ศ. 1960 เมื่อการแข่งขันกลับมาในปี ค.ศ. 1964 ได้แข่งขันแทนที่รายการท่ากรรเชียง 100 เมตรชายสำหรับปีนั้น ในปี 1968 มีแข่งขันทั้งรายการ 100 และ 200 เมตรสำหรับผู้ชาย ท่ากรรเชียง 200 เมตรจัดขึ้นในการแข่งขันกีฬาฤดูร้อนทุกครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 19664 ท่ากรรเชียงของผู้หญิงได้รับการเปิดตัวในปี ค.ศ. 1968 และจัดขึ้นในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

เหรียญรางวัล[แก้]

ประเภทชาย[แก้]

นักว่ายน้ำชายที่ได้รับหลายเหรียญรางวัล[แก้]

อันดับ นักว่ายน้ำ ชาติ โอลิมปิก ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 โรแลนด์ แมตเธส เยอรมนีตะวันออก 1968–1972 2 0 0 2
2 อารอน เพียร์โซล สหรัฐ 2000–2008 1 2 0 3
3 ไรอัน ลอชเต สหรัฐ 2008–2012 1 0 1 2
4 มิทช์ ไอวี่ย์ สหรัฐ 1968–1972 0 1 1 2

ผู้ได้รับเหรียญรางวัลแบ่งตามประเทศ[แก้]

อันดับ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหรัฐ 9 7 5 21
2 เยอรมนีตะวันออก 2 1 0 3
3 ฮังการี 1 1 0 2
4 เยอรมนี 1 0 0 1
สหภาพโซเวียต 1 0 0 1
สเปน 1 0 0 1
7 ออสเตรีย 0 2 0 2
8 ออสเตรเลีย 0 1 2 3
9 ฝรั่งเศส 0 1 0 1
ญี่ปุ่น 0 1 0 1
ทีมรวม 0 1 0 1
12 อิตาลี 0 0 2 2
รัสเซีย 0 0 2 2
14 แคนาดา 0 0 1 1
เนเธอร์แลนด์ 0 0 1 1
นิวซีแลนด์ 0 0 1 1
โรมาเนีย 0 0 1 1

ประเภทหญิง[แก้]

นักว่ายน้ำหญิงที่ได้รับหลายเหรียญรางวัล[แก้]

อันดับ นักว่ายน้ำ ชาติ โอลิมปิก ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 คริสตินา อีเกอร์เซจิ ฮังการี 1988–1996 3 0 0 3
2 เคิร์สตี้ โคเวนทรี ซิมบับเว 2004–2008 2 0 0 2
3 เบอร์จิต ทรีเบอร์ เยอรมนีตะวันออก 1976–1980 0 1 1 2
4 เรโกะ นากามูระ ญี่ปุ่น 2004–2008 0 0 2 2

ผู้ได้รับเหรียญรางวัลแบ่งตามประเทศ[แก้]

อันดับ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหรัฐ 4 4 3 11
2 ฮังการี 3 1 0 4
3 เยอรมนีตะวันออก 2 3 2 7
4 ซิมบับเว 2 0 0 2
5 โรมาเนีย 1 0 1 2
6 เนเธอร์แลนด์ 1 0 0 1
7 รัสเซีย 0 2 0 2
8 แคนาดา 0 1 2 3
เยอรมนี 0 1 2 3
10 ฝรั่งเศส 0 1 0 1
11 ญี่ปุ่น 0 0 3 3
12 ออสเตรเลีย 0 0 1 1

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]