ทาร์เซียร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สกุลทาร์เซียร์
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 45–0Ma ปลายยุคอีโอซีนถึงปัจจุบัน
ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน (Tarsius syrichta)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Primates
อันดับย่อย: Haplorrhini
อันดับฐาน: Tarsiiformes
วงศ์: Tarsiidae
Gray, 1825
สกุล: Tarsius
Storr, 1780
ชนิดต้นแบบ
Lemur tarsier
Erxleben, 1777
ชนิด
ดูในเนื้อหา
ชื่อพ้อง
  • Cephalopachus Swainson, 1835
  • Hypsicebus Lesson, 1840
  • Macrotarsus Link, 1795
  • Rabienus Gray, 1821
วีดีโอคลิปทาร์เซียร์ไม่ทราบชนิด

สกุลทาร์เซียร์ คือสกุลของทาร์เซียร์ที่เป็นไพรเมตขนาดเล็ก มีถิ่นกำเนิดที่หมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงปี พ.ศ.2553 โดยทั่วไปสายพันธุ์ทาร์เซียร์ทั้งหมดจะถูกกำหนดให้อยู่ในสกุลนี้ แต่การปรับปรุงวงศ์ Tarsiidae ได้แบ่งสกุลเพิ่มคือ Cephalopachus และสกุล Carlito[1]

การจำแนก[แก้]

สกุลทาร์เซียร์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้สูญพันธุ์ไปแล้วมีทั้งหมด 3 ชนิด โดยมี 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย[2] ได้แก่

ส่วนทาร์เซียร์ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก่

อ้างอิง[แก้]

  1. Groves, C.; Shekelle, M. (2010). "The Genera and Species of Tarsiidae". International Journal of Primatology. 31 (6): 1071–1082. doi:10.1007/s10764-010-9443-1. S2CID 21220811.
  2. ชัยมณี, เยาวลักษณ์ (2546). ฟอสซิลไพรเมตชั้นสูงในประเทศไทย (PDF). กรมทรัพยากรธรณี.[ลิงก์เสีย]
  3. Nowak, R.M. (1999). Walker's Mammals of the World (6th ed.). Johns Hopkins University Press. pp. 94–97. ISBN 0801857899.
  4. Chiamanee, Y., Lebrun, R., Yamee, C., and Jaeger, J.-J. (2010). "A new Middle Miocene tarsier from Thailand and the reconstruction of its orbital morphology using a geometric–morphometric method". Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences: –. doi:10.1098/rspb.2010.2062.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. Tarsius lariang จากIUCN
  6. "Tarsius pumilus จาก IUCN". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-28. สืบค้นเมื่อ 2011-07-13.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]