ซีแมออนที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซีแมออนมหาราช
Симеон І Велики
พระบรมราชานุสาวรีย์ซีแมออนที่ 1 ที่วีดิน
จักรพรรดิแห่งชาวบัลแกเรียและโรมัน
ครองราชย์ค.ศ. 893 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 927
ก่อนหน้าวลาดีมีร์
ถัดไปแปตร์ที่ 1
ประสูติค.ศ. 864/865
สวรรคต27 พฤษภาคม ค.ศ. 927 (62 หรือ 63 พรรษา)
แปรสลัฟ ประเทศบัลแกเรีย
ชายาไม่ทราบพระนาม (มเหสีองค์แรก)
มาเรีย ซูร์ซูวุล
พระราชบุตรมีไฮล์
แปตร์
อีวัน ริลสกี
Benjamin
ราชวงศ์ราชวงศ์กรุม
พระราชบิดาบอริสที่ 1
พระราชมารดามาเรีย

ซาร์ซีแมออนที่ 1 มหาราช (สลาวอนิกคริสตจักรเก่า: цѣсар҄ь Сѷмеѡ́нъ А҃ Вели́къ, อักษรโรมัน: cěsarĭ Sỳmeonŭ prĭvŭ Velikŭ บัลแกเรีย: цар Симеон I Велики, อักษรโรมัน: Simeon I Veliki; กรีก: Συμεών Αʹ ὁ Μέγας, อักษรโรมัน: Sumeṓn prôtos ho Mégas) ปกครองบัลแกเรียในสมัยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 เมื่อ ค.ศ. 893 ถึง 927[1] การทัพที่ประสบความสำเร็จของซีแมออนต่อไบแซนไทน์, ฮังการี และเซิร์บทำให้บัลแกเรียขยายดินแดนที่สูงสุดเท่าที่เคยมีมา[2] กลายเป็นรัฐที่มีอำนาจมากที่สุดในยุโรปตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ร่วมสมัย[3] รัชสมัยของพระองค์ยังถือเป็นช่วงเวลาแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและความเรืองปัญญาที่ไม่มีใครเทียบได้ ซึ่งภายหลังถือเป็นยุคทองของวัฒนธรรมบัลแกเรีย[4]

ในรัชสมัยของซีแมออน บัลแกเรียครอบครองดินแดนระหว่างทะเลอีเจียน ทะเลเอเดรียติก และทะเลดำ[5][6] คริสตจักรบัลแกเรียนออร์ทอดอกซ์ที่พึ่งแยกใหม่กลายเป็นเขตอัครบิดรใหม่อันแรกร่วมกับ Pentarchy และข้อความศาสนาคริสต์ที่แปลเป็นภาษาบัลแกเรียในอักษรกลาโกลิติกและซีริลลิก กระจายทั่วโลกสลาฟในเวลานั้น[7] โดยสำนักวรรณกรรมแปรสลัฟในคริสต์ทศวรรษ 890 เป็นบริเวณที่มีการพัฒนาอักษรซีริลลิกขึ้น[8][9][10] ในช่วงครึ่งหนึ่งของรัชสมัย ซีแมออนทรงใช้ตำแหน่งจักรวรรดิ (ซาร์)[11] หลังเคยได้รับการเรียกขานเป็นเจ้าชาย (Knyaz)[12]

อ้างอิง[แก้]

  1. Lalkov, Rulers of Bulgaria, pp. 23–25.
  2. Enciklopedija Bǎlgarija (ภาษาบัลแกเรีย). Akademično izdatelstvo "Marin Drinov". 1988. OCLC 75865504.
  3. The First Bulgarian Empire. Encarta. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2007. สืบค้นเมื่อ 3 March 2007.
  4. Hart, Nancy. Bulgarian Art and Culture: Historical and Contemporary Perspectives (PDF). University of Texas at Austin. p. 21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 August 2007. สืบค้นเมื่อ 3 March 2007.
  5. Weigand, Gustav (1924). "1 Istoriko-geografski obzor: 4 Srednovekovie". Etnografija na Makedonija (ภาษาบัลแกเรีย). trans. Elena Pipiševa. Leipzig: Friedrich Brandstetter. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2007.
  6. Bakalov, Istorija na Bǎlgarija, "Simeon I Veliki".
  7. Castellan, Georges (1999). Istorija na Balkanite XIV–XX vek (ภาษาบัลแกเรีย). trans. Liljana Caneva. Plovdiv: Hermes. p. 37. ISBN 954-459-901-0.
  8. Dvornik, Francis (1956). The Slavs: Their Early History and Civilization. Boston: American Academy of Arts and Sciences. p. 179. The Psalter and the Book of Prophets were adapted or "modernized" with special regard to their use in Bulgarian churches, and it was in this school that glagolitic writing was replaced by the so-called Cyrillic writing, which was more akin to the Greek uncial, simplified matters considerably and is still used by the Orthodox Slavs.
  9. Southeastern Europe in the Middle Ages, 500–1250, Cambridge Medieval Textbooks, Florin Curta, Cambridge University Press, 2006, pp. 221–222., ISBN 0521815398
  10. The Orthodox Church in the Byzantine Empire, Oxford History of the Christian Church, J. M. Hussey, Andrew Louth, Oxford University Press, 2010, p. 100., ISBN 0191614882
  11. "Цѣсарь Блъгарѡмъ". Zlatarski, Istorija na Pǎrvoto bǎlgarsko carstvo, p. 367.
  12. Zlatarski, Istorija na Pǎrvoto bǎlgarsko carstvo, p. 280.

ข้อมูล[แก้]

ในภาษาบัลแกเรีย[แก้]

  • Bakalov, Georgi; Milen Kumanov (2003). Elektronno izdanie – Istorija na Bǎlgarija (ภาษาบัลแกเรีย). Sofia: Trud, Sirma. ISBN 954528613X. OCLC 62020465.
  • Bogdanov, Ivan (1973). Simeon Veliki – epoha i ličnost (ภาษาบัลแกเรีย). Sofia. OCLC 71590049.
  • Bozhilov, Ivan (1983). Car Simeon Veliki (893–927) zlatnijat vek na srednovekovna Bǎlgarija (ภาษาบัลแกเรีย). Sofia: Izdatelstvo na Otečestvenija front. OCLC 1323835.
  • Delev, Petǎr; Valeri Kacunov; Plamen Mitev; Evgeniya Kalinova; Iskra Baeva; Boian Dobrev (2006). "9 Bǎlgarskata dǎržava pri Car Simeon; 10 Zlatnijat vek na bǎlgarskata kultura". Istorija i civilizacija za 11. klas (ภาษาบัลแกเรีย). Trud, Sirma. ISBN 954-9926-72-9.
  • Ivanova, Klimentina; Svetlina Nikolova (1995). Tǎržestvo na slovoto. Zlatnijat vek na bǎlgarskata knižnina (ภาษาบัลแกเรีย). Sofia: Agata-A. ISBN 978-954-540-005-6.
  • Todt, Klaus-Peter (1996). "Symeon, Zar". ใน Bautz, Traugott (บ.ก.). Biographisch-Bibliographisches Kirchenlexikon (BBKL) (ภาษาเยอรมัน). Vol. 11. Herzberg: Bautz. cols. 345–350. ISBN 3-88309-064-6.
  • Tsanev, Stefan (2006). "10 (889–912) Zlatnijat vek. Knjaz Rasate-Vladimir, car Simeon Veliki; 11 (912–927) Kǎrvavijat vek. Simeon – car na bǎlgari i romei". Bǎlgarski hroniki (ภาษาบัลแกเรีย). Sofia, Plovdiv: Trud, Žanet 45. ISBN 954-528-610-5.
  • Zlatarski, Vasil (1971) [1927]. "2 Ot slavjanizacijata na dǎržavata do padaneto na Pǎrvoto carstvo (852–1018): 4 Borba s Vizantija za političesko nadmoštie". Istorija na bǎlgarskata dǎržava prez srednite vekove. Tom I. Istorija na Pǎrvoto bǎlgarsko carstvo (ภาษาบัลแกเรีย) (2 ed.). Sofia: Nauka i izkustvo. OCLC 67080314.
  • "1.2 Bǎlgarite stavat hristijani. Izborǎt na knjaz Boris I". Bǎlgarite i Bǎlgarija (ภาษาบัลแกเรีย). Ministry of Foreign Affairs of Bulgaria, Trud, Sirma. 2005.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า ซีแมออนที่ 1 แห่งบัลแกเรีย ถัดไป
วลาดีมีร์ ซาร์แห่งบัลแกเรีย
(893–927)
แปตร์ที่ 1