ซาวิยะฮ์ซีดีบิลอับบาส

พิกัด: 31°38′20.1″N 7°59′27.9″W / 31.638917°N 7.991083°W / 31.638917; -7.991083
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซาวิยะฮ์ซีดีบิลอับบาส
زاوية سيدي بلعباس
ⵣⴰⵡⵉⵢⴰ ⵙⵉⴷⵉ ⴱⵍⵄⴻⴱⴰⵙ
หนึ่งในลานหลักของศูนย์ โดยสุสานอยู่ฝั่งขวาและมินาเรตอยู่ฝั่งซ้าย
ศาสนา
ศาสนาอิสลาม
ที่ตั้ง
ที่ตั้งมาร์ราคิช ประเทศโมร็อกโก
พิกัดภูมิศาสตร์31°38′20.1″N 7°59′27.9″W / 31.638917°N 7.991083°W / 31.638917; -7.991083
สถาปัตยกรรม
ประเภทซาวิยะฮ์
รูปแบบซะอ์ดียะฮ์, โมร็อกโก, อิสลาม
เริ่มก่อตั้งหลัง ค.ศ. 1204
เสร็จสมบูรณ์อาคารปัจจุบันสร้างในช่วง ค.ศ. 1603 ถึง 1608; บูรณะใน ค.ศ. 1720 ถึง 1756; ส่วนการปรับปรุงและบูรณะอื่น ๆ เกิดขึ้นในหลายช่วง

ซาวิยะฮ์ซีดีบิลอับบาส (อาหรับ: زاوية سيدي بلعباس, เบอร์เบอร์: ⵣⴰⵡⵉⵢⴰ ⵙⵉⴷⵉ ⴱⵍⵄⴻⴱⴰⵙ) เป็นศูนย์รวมทางศาสนาอิสลาม (ซาวิยะฮ์) ในมาร์ราคิช ประเทศโมร็อกโก ศูนย์นี้ตั้งอยู่บริเวณสุสานของอะบูลอับบาส อัสซับตี (หรือซีดีบิลอับบาส) ครูศูฟีที่เสียชีวิตใน ค.ศ. 1204 เขาเป็นผู้ที่ได้รับการนับถือมากที่สุดในนักบุญมาร์ราคิชทั้งเจ็ด โดยทั่วไปถือว่าเป็น "นักบุญองค์อุปถัมภ์" ประจำเมือง[1][2][3]: 107  สถาปัตยกรรมของซาวิยะฮ์บางส่วนย้อนไปได้ถึงสมัยซะอ์ดียะฮ์ตอนปลาย (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17) แต่ได้รับการปรับปรุงและบูรณะตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา[2][4][5][6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Marrakush". The Encyclopedia of Islam. Vol. 6. E. J. Brill. p. 591. ISBN 9789004090828.
  2. 2.0 2.1 Deverdun, Gaston (1959). Marrakech: Des origines à 1912. Rabat: Éditions Techniques Nord-Africaines.
  3. Wilbaux, Quentin (2001). La médina de Marrakech: Formation des espaces urbains d'une ancienne capitale du Maroc. Paris: L'Harmattan. ISBN 2747523888.
  4. Marçais, Georges (1954). L'architecture musulmane d'Occident. Paris: Arts et métiers graphiques.
  5. Salmon, Xavier (2016). Marrakech: Splendeurs saadiennes: 1550-1650. Paris: LienArt. pp. 110–117. ISBN 9782359061826.
  6. Triki, Hamid (1986). Marrakech (PDF). Singapore: Marka Print Pte Ltd. pp. 29–29.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]