คริสตียาน เฮยเคินส์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก คริสเตียน ไฮเกนส์)
คริสตียาน เฮยเคินส์ | |
---|---|
เกิด | 14 เมษายน ค.ศ. 1629 เดอะเฮก, สาธารณรัฐดัตช์ |
เสียชีวิต | 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1695 เดอะเฮก, สาธารณรัฐดัตช์ | (66 ปี)
สัญชาติ | ดัตช์ |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยไลเดิน University of Angers |
มีชื่อเสียงจาก | ค้นพบดาวไททัน การอธิบายเรื่องวงแหวนของดาวเสาร์ แรงหนีศูนย์กลาง สูตรของการชน Gambler's ruin นาฬิกาลูกตุ้ม หลักการของเฮยเคินส์ ทฤษฏีคลื่น Huygens' engine การหักเหสองแนว Evolute Huygenian eyepiece 31 equal temperament musical tuning Huygens–Steiner theorem |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | Natural Philosophy ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ Horology |
สถาบันที่ทำงาน | ราชสมาคม French Academy of Sciences |
มีอิทธิพลต่อ | ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ ไอแซก นิวตัน[2][3] |
ได้รับอิทธิพลจาก | กาลิเลโอ กาลิเลอี เรอเน เดการ์ต Frans van Schooten |
คริสตียาน เฮยเคินส์ (ดัตช์: Christiaan Huygens, ออกเสียง: [ˈɦœy̆ɣə(n)s]; 14 เมษายน พ.ศ. 2172 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2238) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักประดิษฐ์นาฬิกาชาวดัตช์ เกิดที่เดอะเฮกในเนเธอร์แลนด์ เป็นลูกชายของโกนสตันไตน์ เฮยเคินส์ ชื่อของเขาเป็นที่มาของยานกัสซีนี-เฮยเคินส์ที่ใช้สำรวจดวงจันทร์ไททัน
รายการค้นพบ คิดค้น หรือวิจัย
[แก้]- พ.ศ. 2198 ค้นพบไททัน ดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในดาวเสาร์
- พ.ศ. 2210 ประดิษฐ์นาฬิกาลูกตุ้ม เป็นเรือนแรก
- พ.ศ. 2202 ตีพิมพ์หนังสือชื่อ "System Saturnium" ซึ่งอธิบายเรื่องเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ตัดระนาบวงแหวนดาวเสาร์ ของโลก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ The meaning of this painting is explained in Wybe Kuitert "Japanese Robes, Sharawadgi, and the landscape discourse of Sir William Temple and Constantijn Huygens" Garden History, 41, 2: (2013) pp.157-176, Plates II-VI and Garden History, 42, 1: (2014) p.130 ISSN 0307-1243 Online as PDF
- ↑ I. Bernard Cohen; George E. Smith (25 April 2002). The Cambridge Companion to Newton. Cambridge University Press. p. 69. ISBN 978-0-521-65696-2. สืบค้นเมื่อ 15 May 2013.
- ↑ Niccolò Guicciardini (2009). Isaac Newton on mathematical certainty and method. MIT Press. p. 344. ISBN 978-0-262-01317-8. สืบค้นเมื่อ 15 May 2013.