การบริโภคยึดจริยธรรม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การบริโภคยึดจริยธรรม (อังกฤษ: ethical consumerism, moral purchasing) เป็นการดำเนินกิจกรรม (activism) ของผู้บริโภคชนิดหนึ่งที่ตั้งอยู่บนมโทนัศน์การออกเสียงลงคะแนนด้วยเงิน (dollar voting)[1] เป็นการซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีกระบวนการมีจริยธรรม ซึ่งสนับสนุนผู้ผลิตขนาดย่อม และช่างฝีมือในท้องถิ่น ตลอดจนคุ้มครองสัตว์และสิ่งแวดล้อม และคว่ำบาตรการขูดรีดการใช้แรงงานเด็ก ทดลองกับสัตว์ หรือทำลายสิ่งแวดล้อม[2]

คำว่า "การบริโภคยึดจริยธรรม" มีการใช้ครั้งแรกโดยนิตยสารสหราชอาณาจักร ชื่อ Ethical Consumer ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1989 การจัดอันดับบริษัทจากเกณฑ์วัดเรื่องจริยธรรมและสิ่งแวดล้อมต่อมาเป็นที่แพร่หลาย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. *Giesler, Markus; Veresiu, Ela (2014). "Creating the Responsible Consumer: Moralistic Governance Regimes and Consumer Subjectivity". Journal of Consumer Research. 41 (October): 849–867. doi:10.1086/677842.
  2. "Ethical Consumer Or Transient Responsibility". WTVOX. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-14. สืบค้นเมื่อ 2020-03-05.