ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โฟตอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== คุณสมบัติทางกายภาพ ==
== คุณสมบัติทางกายภาพ ==
โฟตอนแทบจะไม่มีมวล, <ref group="Note">The [[invariant mass|mass]] of the photon is believed to be exactly zero, based on experiment and theoretical considerations described in the article. Some sources also refer to the ''[[relativistic mass]]'' concept, which is just the energy scaled to units of mass. For a photon with wavelength ''λ'' or energy ''E'', this is ''h/λc'' or ''E''/''c''<sup>2</sup>. This usage for the term "mass" is no longer common in scientific literature. Further info: What is the mass of a photon? http://math.ucr.edu/home/baez/physics/ParticleAndNuclear/photon_mass.html</ref> ไม่มี[[ประจุไฟฟ้า]] และเสถียร โฟตอนมีสถานะโพลาไรซ์ที่เป็นไปได้สองสถานะและอธิบายได้โดยตัวแปรที่มีความต่อเนื่องสามตัว: เป็นส่วนประกอบของเวกเตอร์คลื่นซึ่งกำหนดความยาวคลื่น λ และทิศทางของการแพร่กระจายของมัน โฟตอนคือ[[เกจโบซอน]]สำหรับ[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] และดังนั้นจำนวนควอนตัมอื่น ๆ ทั้งหมดของโฟตอน (เช่น[[จำนวนเลปตอน]] (lepton number), [[จำนวนแบริออน]] (baryon number) และ[[จำนวนเฟลเวอร์ควอนตัม]] (flavour quantum numbers)) จึงเป็นศูนย์
โฟตอนแทบจะไม่มีมวล, <ref group="Note">The [[invariant mass|mass]] of the photon is believed to be exactly zero, based on experiment and theoretical considerations described in the article. Some sources also refer to the ''[[relativistic mass]]'' concept, which is just the energy scaled to units of mass. For a photon with wavelength ''λ'' or energy ''E'', this is ''h/λc'' or ''E''/''c''<sup>2</sup>. This usage for the term "mass" is no longer common in scientific literature. Further info: What is the mass of a photon? http://math.ucr.edu/home/baez/physics/ParticleAndNuclear/photon_mass.html</ref> ไม่มี[[ประจุไฟฟ้า]] <ref name="chargeless">{{cite journal|last=Kobychev|first=V.V.|coauthors=Popov, S.B.|year=2005|title=Constraints on the photon charge from observations of extragalactic sources|journal=[[Astronomy Letters]]|volume=31|pages=147–151|doi=10.1134/1.1883345|arxiv=hep-ph/0411398|bibcode=2005AstL...31..147K|issue=3 }}</ref> และ[[เสถียร]] โฟตอนมีสถานะโพลาไรซ์ที่เป็นไปได้สองสถานะและอธิบายได้โดยตัวแปรที่มีความต่อเนื่องสามตัว: เป็นส่วนประกอบของเวกเตอร์คลื่นซึ่งกำหนดความยาวคลื่น λ และทิศทางของการแพร่กระจายของมัน โฟตอนคือ[[เกจโบซอน]]สำหรับ[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] และดังนั้นจำนวนควอนตัมอื่น ๆ ทั้งหมดของโฟตอน (เช่น[[จำนวนเลปตอน]] (lepton number), [[จำนวนแบริออน]] (baryon number) และ[[จำนวนเฟลเวอร์ควอนตัม]] (flavour quantum numbers)) จึงเป็นศูนย์


โฟตอนจะถูกปลดปล่อยออกมาในกระบวนการทางธรรมชาติมากมาย
โฟตอนจะถูกปลดปล่อยออกมาในกระบวนการทางธรรมชาติมากมาย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:11, 4 พฤษภาคม 2556

โฟตอน (อังกฤษ: Photon) หรือ อนุภาคของแสง เป็นการพิจารณาแสงในลักษณะของอนุภาค เนื่องจากในทางฟิสิกส์นั้น คลื่นสามารถประพฤติตัวเหมือนอนุภาคเมื่ออยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ซึ่งในทางตรงกันข้ามอนุภาคก็แสดงสมบัติของคลื่นได้เช่นกัน เรียกว่าเป็นคุณสมบัติทวิภาคของคลื่น-อนุภาค (wave–particle duality) ดังนั้นเมื่อพิจารณาแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะอนุภาค อนุภาคนั้นถูกเรียกว่า โฟตอน

ทั้งนี้การพิจารณาดังกล่าวเกิดจากการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่โลหะปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมาเมื่อถูกฉายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อย่างเช่น รังสีเอ๊กซ์ (X-ray) อิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาถูกเรียกว่า โฟโตอิเล็กตรอน (photoelectron) ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Hertz Effect ตามชื่อของผู้ค้นพบ คือ นาย เฮนริค รูดอล์ฟ เฮิร์ทซ์ (Heinrich Rudolf Hertz)

โฟตอนมีปฏิยานุภาค คือ แอนติโฟตอน (Anti-Photon) ซึ่งมีสปินเหมือนอนุภาคต้นแบบทุกประการ โฟตอนจึงเป็นปฏิยานุภาคของตัวมันเอง

คุณสมบัติทางกายภาพ

โฟตอนแทบจะไม่มีมวล, [Note 1] ไม่มีประจุไฟฟ้า [1] และเสถียร โฟตอนมีสถานะโพลาไรซ์ที่เป็นไปได้สองสถานะและอธิบายได้โดยตัวแปรที่มีความต่อเนื่องสามตัว: เป็นส่วนประกอบของเวกเตอร์คลื่นซึ่งกำหนดความยาวคลื่น λ และทิศทางของการแพร่กระจายของมัน โฟตอนคือเกจโบซอนสำหรับแรงแม่เหล็กไฟฟ้า และดังนั้นจำนวนควอนตัมอื่น ๆ ทั้งหมดของโฟตอน (เช่นจำนวนเลปตอน (lepton number), จำนวนแบริออน (baryon number) และจำนวนเฟลเวอร์ควอนตัม (flavour quantum numbers)) จึงเป็นศูนย์

โฟตอนจะถูกปลดปล่อยออกมาในกระบวนการทางธรรมชาติมากมาย

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA

หมายเหตุ

  1. The mass of the photon is believed to be exactly zero, based on experiment and theoretical considerations described in the article. Some sources also refer to the relativistic mass concept, which is just the energy scaled to units of mass. For a photon with wavelength λ or energy E, this is h/λc or E/c2. This usage for the term "mass" is no longer common in scientific literature. Further info: What is the mass of a photon? http://math.ucr.edu/home/baez/physics/ParticleAndNuclear/photon_mass.html

อ้างอิง

  1. Kobychev, V.V. (2005). "Constraints on the photon charge from observations of extragalactic sources". Astronomy Letters. 31 (3): 147–151. arXiv:hep-ph/0411398. Bibcode:2005AstL...31..147K. doi:10.1134/1.1883345. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)