ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทือกเขาฮินดูกูช"

พิกัด: 35°N 71°E / 35°N 71°E / 35; 71
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
| embedded = {{Infobox mapframe |wikidata=yes |zoom=9 |coord={{WikidataCoord|display=i}}}}
| embedded = {{Infobox mapframe |wikidata=yes |zoom=9 |coord={{WikidataCoord|display=i}}}}
}}
}}
'''เทือกเขาฮินดูกูช''' ({{lang-en|Hindu Kush}}; {{lang-hi|हिन्दु कुश}}; {{lang-fa|هندوکش|hindū-kuš}}) เป็น[[เทือกเขา]]ใน[[เอเชียกลาง]]และ[[เอเชียใต้]]ที่มีความยาว {{convert|800|km|mi}} ทางตะวันตกของ[[เทิอกเขาหิมาลัย]] กินพื้นที่จาก[[อัฟกานิสถาน]]กลางและตะวันออก<ref name="Searle2013p157">{{cite book|author=Mike Searle|title=Colliding Continents: A geological exploration of the Himalaya, Karakoram, and Tibet|url=https://books.google.com/books?id=c25oAgAAQBAJ&pg=PA157|year=2013|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-165248-6|page=157}}, Quote: "The Hindu Kush mountains run along the Afghan border with the North-West Frontier Province of Pakistan".</ref><ref>{{cite book|author=George C. Kohn|title=Dictionary of Wars|url=https://books.google.com/books?id=OIzreCGlHxIC |year=2006|publisher=Infobase Publishing|isbn=978-1-4381-2916-7|page=10}}</ref>ถึง[[ปากีสถาน]]ตะวันตกเฉียงเหนือกับ[[ทาจิกิสถาน]]ตะวันออกเฉียงใต้ เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของ''ภูมิภาคหิมาลัยฮินดูกูช'' (Hindu Kush Himalayan Region, ''HKH'') ส่วนตะวันตก;<ref name="ICIMOD">{{cite web |url=http://www.icimod.org/?q=1137 |title=Hindu Kush Himalayan Region |publisher= ICIMOD |access-date=17 October 2014}}</ref><ref name=":1">{{cite journal |title=Mapping the vulnerability hotspots over Hindu-Kush Himalaya region to flooding disasters |doi=10.1016/j.wace.2014.12.001 |volume=8 |pages=46–58 |journal=Weather and Climate Extremes|year=2015 |last1=Elalem |first1=Shada |last2=Pal |first2=Indrani |doi-access=free }}</ref><ref name=":2">{{cite web |url=http://www.assess-hkh.at/downloads/Poster1_ASSESS_HKH_scientific.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20150922065423/http://www.assess-hkh.at/downloads/Poster1_ASSESS_HKH_scientific.pdf |archive-date=2015-09-22 |url-status=live |title=Development of an ASSESSment system to evaluate the ecological status of rivers in the Hindu Kush-Himalayan region |periodical=Assess-HKH.at |access-date=6 September 2015}}</ref> ส่วนบริเวณตอนเหนือที่ปลายด้านตะวันออกเฉียงเหนือ เทือกเขาฮินดูกูชค้ำยัน[[เทือกเขาปามีร์]]ใกล้จุดที่เป็นชายแดนระหว่างจีน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน จากนั้นเทือกเขาอยู่ในแนวตะวันออกเฉียงใต้ผ่านปากีสถานและอัฟกานิสถาน<ref name="Searle2013p157" /> จุดปลายตะวันออกของฮินดูกูชทางตอนเหนือเชื่อมเข้ากับ[[เทือกเขาการาโกรัม]]<ref name=":3">[https://www.britannica.com/place/Karakoram-Range Karakoram Range: MOUNTAINS, ASIA], Encyclopædia Britannica</ref><ref name=":4">{{cite book|author=Stefan Heuberger|title=The Karakoram-Kohistan Suture Zone in NW Pakistan – Hindu Kush Mountain Range|url=https://books.google.com/books?id=67JwfOvNm4UC&pg=PA25|year=2004|publisher=vdf Hochschulverlag AG|isbn=978-3-7281-2965-9|pages=25–26}}</ref> ส่วนทางใต้เชื่อมเข้ากับ[[White Mountains, Afghanistan|เทือกเขาขาว]]ใกล้[[แม่น้ำคาบูล]]<ref name=":5">[https://www.britannica.com/place/Spin-Ghar-Range Spīn Ghar Range, MOUNTAINS, PAKISTAN-AFGHANISTAN], Encyclopædia Britannica</ref><ref name=":6">{{cite book|author1=Jonathan M. Bloom|author2=Sheila S. Blair|title=The Grove Encyclopedia of Islamic Art and Architecture |url=https://books.google.com/books?id=un4WcfEASZwC&pg=PA389 |year=2009|publisher=Oxford University Press |isbn=978-0-19-530991-1|pages=389–390}}</ref> เทือกเขานี้แยกหุบเขา[[แม่น้ำอามูดาร์ยา]] (สมัยโบราณเรียก ''Oxus'') ทางตอนเหนือจากหุบเขา[[แม่น้ำสินธุ]]ทางตอนใต้ เทือกเขานี้มียอดเขาที่ปกคลุมด้วยหิมะหลายแห่ง โดยยอดเขาที่สูงสุดคือ[[ยอดเขาตีริชมีร์]]ที่มีความสูง {{convert|7708|m}} ใน[[อำเภอจิตราล]] [[แคว้นแคบาร์ปัคตูนควา]] ประเทศปากีสถาน
'''เทือกเขาฮินดูกูช''' ({{lang-en|Hindu Kush}}; {{lang-hi|हिन्दु कुश}}; {{lang-fa|هندوکش|hindū-kuš}}) เป็นเทือกเขาที่ขยายตัวต่อจาก[[เทือกเขาการาโกรัม]]ไปทางตะวันตก มีความยาวประมาณ 800 กิโลเมตร อยู่บริเวณรอยต่อของ[[ประเทศปากีสถาน]]กับ[[ประเทศอัฟกานิสถาน]] มียอดเขาสูงที่มากกว่าระดับ 7,000 เมตร ถึง 20 ยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดคือ[[ยอดเขาติร์อิชเมียร์]]ในประเทศปากีสถาน เชิงเขาฝั่งตะวันตกของเทือกเขาฮินดูกูช มีทะเลสาบกลุ่มหนึ่ง แอ่งน้ำใสต่อเนื่องกันเป็นสายตามแนวแม่น้ำแบนด์-เออามีร์ ณ ระดับความสูงเกือบ 3,000 เมตร

เทือกเขาฮินดูกูชเคยเป็นจุดศูนย์กลางของ[[ศาสนาพุทธ]] โดยเป็นที่ตั้งของ[[พระพุทธรูปแห่งบามียาน]]<ref name=deborahkh/><ref>{{cite book|author=Claudio Margottini|title=After the Destruction of Giant Buddha Statues in Bamiyan (Afghanistan) in 2001: A UNESCO's Emergency Activity for the Recovering and Rehabilitation of Cliff and Niches|url=https://books.google.com/books?id=OTK_BAAAQBAJ&pg=PA5|year=2013|publisher=Springer |isbn=978-3-642-30051-6|pages=5–6}}</ref> พื้นที่และชุมชนที่มีผู้ตั้งรกรากอยู่ในนั้น เป็นที่ตั้งของอารามโบราณ เครือข่ายการค้าที่สำคัญ และนักเดินทางจาก[[เอเชียกลาง]]กับ[[เอเชียใต้]]<ref name="Neelis2010p249" /><ref name="sl2009">{{cite book |author1=Ibn Battuta |url=https://books.google.com/books?id=eP_uByWWmUsC&pg=PA97 |title=The Travels of Ibn Battuta: In the Near East, Asia and Africa |author2=((Samuel Lee (Translator))) |publisher=Cosimo (Reprint) |year=2010 |isbn=978-1-61640-262-4 |pages=97–98}}; Columbia University [http://www.columbia.edu/itc/mealac/pritchett/00generallinks/ibnbatuta/02tartary.html#punjab Archive]</ref> แม้ว่าภูมิภาคส่วนใหญ่มีประชากรส่วนใหญ่เป็น[[มุสลิม]]มาหลายศตวรรษ แต่ยังคงมีบางพื้นที่ที่พึ่ง[[อิสลามานุวัตร|เข้ารับอิสลาม]]เมื่อไม่นาน เช่น [[กาฟีริสถาน]]<ref>{{Cite book|url=https://books.google.com/books?id=DVgrDwAAQBAJ&q=Kafiristan&pg=PT29|title=Pagan Christmas: Winter Feasts of the Kalasha of the Hindu Kush|isbn=9781909942851|last1=Cacopardo|first1=Augusto S.|date=15 February 2017}}</ref> ที่ยังคงความเชื่อแบบพหุเทวนิยมโบราณจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสมัย[[จักรวรรดิดูร์รานี]]ที่พื้นที่นี้หันมาเข้ารีตเป็นอิสลามและเปลี่ยนชื่อเป็น[[จังหวัดนูริสถาน|นูริสถาน]]<ref name="paganp29">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=DVgrDwAAQBAJ&pg=PT29|title=Pagan Christmas: Winter Feasts of the Kalasha of the Hindu Kush|author=Augusto S. Cacopardo|publisher=Gingko Library|isbn=978-1-90-994285-1|date=15 February 2017}}</ref> เทือกเขาฮินดูกูชยังเป็นทางผ่านสำหรับการรุกรานใน[[อนุทวีปอินเดีย]]<ref name="Konrad H. Kinzl 2010 577">{{cite book|author=Konrad H. Kinzl|title=A Companion to the Classical Greek World|url=https://books.google.com/books?id=loeWIRBo3isC&pg=PA577|year=2010|publisher=John Wiley & Sons|isbn=978-1-4443-3412-8|page=577}}</ref><ref name="Wink2002p52">{{cite book|author=André Wink|title=Al-Hind: The Slavic Kings and the Islamic Conquest, 11th–13th Centuries |url=https://books.google.com/books?id=uQ7k2vQlYxEC&pg=PA52 |year=2002|publisher=BRILL Academic|isbn=978-0-391-04174-5|pages=52–53}}</ref> และยังคงเป็นเส้นทางสำคัญในสงครามร่วมสมัยในอัฟกานิสถาน<ref name="Clements2003p109">{{cite book|author=Frank Clements|title=Conflict in Afghanistan: A Historical Encyclopedia|url=https://books.google.com/books?id=bv4hzxpo424C&pg=PA109|year=2003|publisher=ABC-CLIO|isbn=978-1-85109-402-8|pages=109–110}}</ref><ref name="Michael Ryan 2013 54–55">{{cite book|author=Michael Ryan|title=Decoding Al-Qaeda's Strategy: The Deep Battle Against America|url=https://books.google.com/books?id=ZtCrAgAAQBAJ |year=2013|publisher=Columbia University Press|isbn=978-0-231-16384-2|pages=54–55}}</ref>

==ชื่อ==


==หมายเหตุ==
==หมายเหตุ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:00, 5 กรกฎาคม 2566

เทือกเขาฮินดูกูช
เทือกเขาฮินดูกูชที่ชายแดนอัฟกานิสถาน-ปากีสถาน
จุดสูงสุด
ยอดยอดเขาตีริชมีร์ (ปากีสถาน)
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
7,708 เมตร (25,289 ฟุต)
พิกัด36°14′45″N 71°50′38″E / 36.24583°N 71.84389°E / 36.24583; 71.84389
ข้อมูลเชิงขนาด
ยาว800 กม. (497 ไมล์)
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศของเทือกเขาฮินดูกูช[1]
ประเทศอัฟกานิสถาน, ปากีสถาน และ ทาจิกิสถาน
เทือกเขาเทือกเขาหิมาลัย
แผนที่

เทือกเขาฮินดูกูช (อังกฤษ: Hindu Kush; ฮินดี: हिन्दु कुश; เปอร์เซีย: هندوکش, อักษรโรมัน: hindū-kuš) เป็นเทือกเขาในเอเชียกลางและเอเชียใต้ที่มีความยาว 800 กิโลเมตร (500 ไมล์) ทางตะวันตกของเทิอกเขาหิมาลัย กินพื้นที่จากอัฟกานิสถานกลางและตะวันออก[2][3]ถึงปากีสถานตะวันตกเฉียงเหนือกับทาจิกิสถานตะวันออกเฉียงใต้ เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคหิมาลัยฮินดูกูช (Hindu Kush Himalayan Region, HKH) ส่วนตะวันตก;[4][5][6] ส่วนบริเวณตอนเหนือที่ปลายด้านตะวันออกเฉียงเหนือ เทือกเขาฮินดูกูชค้ำยันเทือกเขาปามีร์ใกล้จุดที่เป็นชายแดนระหว่างจีน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน จากนั้นเทือกเขาอยู่ในแนวตะวันออกเฉียงใต้ผ่านปากีสถานและอัฟกานิสถาน[2] จุดปลายตะวันออกของฮินดูกูชทางตอนเหนือเชื่อมเข้ากับเทือกเขาการาโกรัม[7][8] ส่วนทางใต้เชื่อมเข้ากับเทือกเขาขาวใกล้แม่น้ำคาบูล[9][10] เทือกเขานี้แยกหุบเขาแม่น้ำอามูดาร์ยา (สมัยโบราณเรียก Oxus) ทางตอนเหนือจากหุบเขาแม่น้ำสินธุทางตอนใต้ เทือกเขานี้มียอดเขาที่ปกคลุมด้วยหิมะหลายแห่ง โดยยอดเขาที่สูงสุดคือยอดเขาตีริชมีร์ที่มีความสูง 7,708 เมตร (25,289 ฟุต) ในอำเภอจิตราล แคว้นแคบาร์ปัคตูนควา ประเทศปากีสถาน

เทือกเขาฮินดูกูชเคยเป็นจุดศูนย์กลางของศาสนาพุทธ โดยเป็นที่ตั้งของพระพุทธรูปแห่งบามียาน[11][12] พื้นที่และชุมชนที่มีผู้ตั้งรกรากอยู่ในนั้น เป็นที่ตั้งของอารามโบราณ เครือข่ายการค้าที่สำคัญ และนักเดินทางจากเอเชียกลางกับเอเชียใต้[13][14] แม้ว่าภูมิภาคส่วนใหญ่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิมมาหลายศตวรรษ แต่ยังคงมีบางพื้นที่ที่พึ่งเข้ารับอิสลามเมื่อไม่นาน เช่น กาฟีริสถาน[15] ที่ยังคงความเชื่อแบบพหุเทวนิยมโบราณจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสมัยจักรวรรดิดูร์รานีที่พื้นที่นี้หันมาเข้ารีตเป็นอิสลามและเปลี่ยนชื่อเป็นนูริสถาน[16] เทือกเขาฮินดูกูชยังเป็นทางผ่านสำหรับการรุกรานในอนุทวีปอินเดีย[17][18] และยังคงเป็นเส้นทางสำคัญในสงครามร่วมสมัยในอัฟกานิสถาน[19][20]

ชื่อ

หมายเหตุ

อ้างอิง

  1. Hindu Kush, Encyclopedia Iranica
  2. 2.0 2.1 Mike Searle (2013). Colliding Continents: A geological exploration of the Himalaya, Karakoram, and Tibet. Oxford University Press. p. 157. ISBN 978-0-19-165248-6., Quote: "The Hindu Kush mountains run along the Afghan border with the North-West Frontier Province of Pakistan".
  3. George C. Kohn (2006). Dictionary of Wars. Infobase Publishing. p. 10. ISBN 978-1-4381-2916-7.
  4. "Hindu Kush Himalayan Region". ICIMOD. สืบค้นเมื่อ 17 October 2014.
  5. Elalem, Shada; Pal, Indrani (2015). "Mapping the vulnerability hotspots over Hindu-Kush Himalaya region to flooding disasters". Weather and Climate Extremes. 8: 46–58. doi:10.1016/j.wace.2014.12.001.
  6. "Development of an ASSESSment system to evaluate the ecological status of rivers in the Hindu Kush-Himalayan region" (PDF). Assess-HKH.at. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-22. สืบค้นเมื่อ 6 September 2015.
  7. Karakoram Range: MOUNTAINS, ASIA, Encyclopædia Britannica
  8. Stefan Heuberger (2004). The Karakoram-Kohistan Suture Zone in NW Pakistan – Hindu Kush Mountain Range. vdf Hochschulverlag AG. pp. 25–26. ISBN 978-3-7281-2965-9.
  9. Spīn Ghar Range, MOUNTAINS, PAKISTAN-AFGHANISTAN, Encyclopædia Britannica
  10. Jonathan M. Bloom; Sheila S. Blair (2009). The Grove Encyclopedia of Islamic Art and Architecture. Oxford University Press. pp. 389–390. ISBN 978-0-19-530991-1.
  11. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ deborahkh
  12. Claudio Margottini (2013). After the Destruction of Giant Buddha Statues in Bamiyan (Afghanistan) in 2001: A UNESCO's Emergency Activity for the Recovering and Rehabilitation of Cliff and Niches. Springer. pp. 5–6. ISBN 978-3-642-30051-6.
  13. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Neelis2010p249
  14. Ibn Battuta; Samuel Lee (Translator) (2010). The Travels of Ibn Battuta: In the Near East, Asia and Africa. Cosimo (Reprint). pp. 97–98. ISBN 978-1-61640-262-4.; Columbia University Archive
  15. Cacopardo, Augusto S. (15 February 2017). Pagan Christmas: Winter Feasts of the Kalasha of the Hindu Kush. ISBN 9781909942851.
  16. Augusto S. Cacopardo (15 February 2017). Pagan Christmas: Winter Feasts of the Kalasha of the Hindu Kush. Gingko Library. ISBN 978-1-90-994285-1.
  17. Konrad H. Kinzl (2010). A Companion to the Classical Greek World. John Wiley & Sons. p. 577. ISBN 978-1-4443-3412-8.
  18. André Wink (2002). Al-Hind: The Slavic Kings and the Islamic Conquest, 11th–13th Centuries. BRILL Academic. pp. 52–53. ISBN 978-0-391-04174-5.
  19. Frank Clements (2003). Conflict in Afghanistan: A Historical Encyclopedia. ABC-CLIO. pp. 109–110. ISBN 978-1-85109-402-8.
  20. Michael Ryan (2013). Decoding Al-Qaeda's Strategy: The Deep Battle Against America. Columbia University Press. pp. 54–55. ISBN 978-0-231-16384-2.

ข้อมูล

ผลงานที่อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น


35°N 71°E / 35°N 71°E / 35; 71