ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัยรุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{multiple image
'''วัยรุ่น''' ({{lang-en|adolescence}} {{etymology|la|adolescere |to mature}}) คือขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาระหว่างวัย[[เด็ก]]จนถึงวัย[[ผู้ใหญ่]] มีการเปลี่ยนแปลงทาง[[ชีววิทยา]] (เช่น[[ระบบสืบพันธุ์]]) ทาง[[จิตวิทยา]] และทางสังคม การสิ้นสุดของการเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ค่อนข้างมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศหรือตามกลุ่มสังคม ซึ่งจะเห็นได้จากการที่บุคคลนั้นได้รับความเชื่อมั่นหรือไว้ใจให้ทำหน้าที่หรืองานต่าง ๆ เช่น การขับขี่[[ยานพาหนะ]] การมี[[ความสัมพันธ์ทางเพศ]] การเป็น[[ทหาร]] การ[[เลือกตั้ง]] หรือการ[[แต่งงาน]]เป็นต้น การเป็นวัยรุ่นมักจะสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเสรีภาพที่ได้รับจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือสิทธิตาม[[กฎหมาย]] หรือความสามารถในการตัดสินใจในบางเรื่องโดยไม่ต้องขอความยินยอม
| align = right
| direction = vertical
| width1 = 240
| image1 = Teens sharing a song.jpg
| caption1 = เด็กวัยรุ่นสองคนฟังดนตรีด้วยหูฟัง
| width2 =
| image2 =
| caption2 =
| total_width =
| alt1 =
}}
'''วัยรุ่น''' ({{lang-en|adolescence}} {{etymology|la|adolescere |to mature}}) คือขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทาง[[Developmental biology|กายภาพ]]และ[[จิตใจ]]ของมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาระหว่าง[[วัยเริ่มเจริญพันธุ์]]ถึง[[วัยผู้ใหญ่]] (มักสอดคล้องกับ[[นิติภาวะ]])<!--NOTE: The definition has been thoroughly discussed on the talk page. It's a complex issue. So please discuss it on the talk page first before changing it.--><ref name="Stehlik">{{Cite book|last=Stehlik|first=Thomas|title=Educational Philosophy for 21st Century Teachers|date=2018|publisher=Springer|isbn=978-3319759692|page=131|url=https://books.google.com/books?id=rqZWDwAAQBAJ&pg=PA131}}</ref><ref name="Hu">{{Cite book|last1=Hu|first1=Julie Xuemei|last2=Nash|first2=Shondrah Tarrezz|title=Marriage and the Family: Mirror of a Diverse Global Society|date=2019|publisher=Routledge|isbn=978-1317279846|page=302|url=https://books.google.com/books?id=xVKWDwAAQBAJ&pg=PT302}}</ref> วัยรุ่นมักมีส่วนเกี่ยวข้องกับปีวัยรุ่น<ref name="MedlinePlus archive 001950 Puberty and adolescence">{{cite web|title=Puberty and adolescence|website=[[MedlinePlus]]|access-date=July 22, 2014|archive-date=April 3, 2013|url=https://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001950.htm|archive-url=https://web.archive.org/web/20130403080324/https://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001950.htm}}</ref><ref name="psychtoday">{{cite magazine|title=Adolescence|magazine=[[Psychology Today]]|access-date=April 7, 2012|url=http://www.psychologytoday.com/basics/adolescence}}</ref> แต่ในการแสดงออกทางกายภาพ จิตใจ หรือวัฒนธรรมอาจเริ่มต้นก่อนหน้าและสิ้นสุดภายหลัง ปัจจุบัน วัยเริ่มเจริญพันธุ์มักเริ่มต้นในช่วง[[วัยก่อนวัยรุ่น]] โดยเฉพาะในเพศหญิง<ref name="psychtoday"/><ref>{{cite journal |author1=Dorn L. D. |author2=Biro F. M. | year = 2011| title = Puberty and Its Measurement: A Decade in Review. [Review] | journal = Journal of Research on Adolescence | volume = 21 | issue = 1| pages = 180–195 | doi = 10.1111/j.1532-7795.2010.00722.x }}</ref> การเติบโตทางการภาพ (โดยเฉพาะในเพศชาย) และพัฒนาการทางปัญญาสามารถขยายผ่ายวัยรุ่น ขอบเขตของวัยรุ่นยังคงเป็นแบบคร่าว ๆ และนักวิชาการยังไม่เห็นด้วยกับคำจำกัดความที่ชัดเจน คำอธิบายบางส่วนเริ่มต้นเร็วสุดที่ 10 ขวบ และสิ้นสุดช้าสุดที่ 25 หรือ 26 ปี<ref>{{cite journal |last1=Jaworska |first1=Natalia |last2=MacQueen |first2=Glenda |title=Adolescence as a unique developmental period |journal=Journal of Psychiatry & Neuroscience |date=September 2015 |volume=40 |issue=5 |pages=291–293 |doi=10.1503/jpn.150268 |pmid=26290063 |pmc=4543091 }}</ref> องค์การอนามัยโลกให้คำคำจำกัดความของวัยรุ่นอย่างเป็นทางการว่าอยู่ในช่วงอายุ 10 ถึง 19 ปี<ref name="WHO1">{{cite web |title=Adolescent health |url=https://www.who.int/health-topics/adolescent-health#tab=tab_1 |website=www.who.int |language=en}}</ref>


การสิ้นสุดของการเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ค่อนข้างมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศหรือตามกลุ่มสังคม ซึ่งจะเห็นได้จากการที่บุคคลนั้นได้รับความเชื่อมั่นหรือไว้ใจให้ทำหน้าที่หรืองานต่าง ๆ เช่น การขับขี่[[ยานพาหนะ]] การมี[[ความสัมพันธ์ทางเพศ]] การเป็น[[ทหาร]] การ[[เลือกตั้ง]] หรือการ[[แต่งงาน]]เป็นต้น การเป็นวัยรุ่นมักจะสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเสรีภาพที่ได้รับจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือสิทธิตาม[[กฎหมาย]] หรือความสามารถในการตัดสินใจในบางเรื่องโดยไม่ต้องขอความยินยอม
วัยรุ่นมี 3 ช่วงคือ

วัยรุ่นตอนต้น 10-13 ปี

วัยรุ่นตอนกลาง 14-16ปี

วัยรุ่นตอนปลาย 17-19ปี


== การเปลี่ยนแปลง ==
== การเปลี่ยนแปลง ==
บรรทัด 17: บรรทัด 23:
เด็กวัยรุ่นผู้หญิง [[หน้าอก]]จะผายเริ่มมีเม็ดไตที่แข็ง มีขนขึ้นตามร่างกาย หรือแม้กระทั่ง[[อวัยวะเพศ]]
เด็กวัยรุ่นผู้หญิง [[หน้าอก]]จะผายเริ่มมีเม็ดไตที่แข็ง มีขนขึ้นตามร่างกาย หรือแม้กระทั่ง[[อวัยวะเพศ]]
เริ่มมี[[ประจำเดือน]] เริ่มมีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น เริ่มมีเสียงที่แหลม รูปร่างจะสูงขึ้น กระชับและได้สัดส่วนมากขึ้น
เริ่มมี[[ประจำเดือน]] เริ่มมีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น เริ่มมีเสียงที่แหลม รูปร่างจะสูงขึ้น กระชับและได้สัดส่วนมากขึ้น

==อ้างอิง==
{{reflist}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Subject bar|commons=yes|commons-search=Category:Adolescence|wikt=yes|b=yes|q=yes|q-search=Teenagers|s=yes|d=Q131774}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Adolescence|วัยรุ่น}}
{{Authority control}}
* [http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/59554/1/5780149022.pdf พงศกร ชะอุ่มดี. “ภาพถ่ายกับชีวิตวัยรุ่นชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร ทศวรรษ 2500 ถึงต้นทศวรรษ 2530.” วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.]
*[http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5606030046_4586_3095.pdf ภาคิน นิมมานนรวงศ์. “ประวัติศาสตร์เด็กและวัยเด็กช่วงต้นรัตนโกสินทร์ถึงการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5.” วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558.]


[[หมวดหมู่:จิตวิทยาการศึกษา]]
[[หมวดหมู่:จิตวิทยาการศึกษา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:31, 13 พฤศจิกายน 2565

เด็กวัยรุ่นสองคนฟังดนตรีด้วยหูฟัง

วัยรุ่น (อังกฤษ: adolescence จาก ละติน adolescere หมายถึง "to mature") คือขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางกายภาพและจิตใจของมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาระหว่างวัยเริ่มเจริญพันธุ์ถึงวัยผู้ใหญ่ (มักสอดคล้องกับนิติภาวะ)[1][2] วัยรุ่นมักมีส่วนเกี่ยวข้องกับปีวัยรุ่น[3][4] แต่ในการแสดงออกทางกายภาพ จิตใจ หรือวัฒนธรรมอาจเริ่มต้นก่อนหน้าและสิ้นสุดภายหลัง ปัจจุบัน วัยเริ่มเจริญพันธุ์มักเริ่มต้นในช่วงวัยก่อนวัยรุ่น โดยเฉพาะในเพศหญิง[4][5] การเติบโตทางการภาพ (โดยเฉพาะในเพศชาย) และพัฒนาการทางปัญญาสามารถขยายผ่ายวัยรุ่น ขอบเขตของวัยรุ่นยังคงเป็นแบบคร่าว ๆ และนักวิชาการยังไม่เห็นด้วยกับคำจำกัดความที่ชัดเจน คำอธิบายบางส่วนเริ่มต้นเร็วสุดที่ 10 ขวบ และสิ้นสุดช้าสุดที่ 25 หรือ 26 ปี[6] องค์การอนามัยโลกให้คำคำจำกัดความของวัยรุ่นอย่างเป็นทางการว่าอยู่ในช่วงอายุ 10 ถึง 19 ปี[7]

การสิ้นสุดของการเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ค่อนข้างมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศหรือตามกลุ่มสังคม ซึ่งจะเห็นได้จากการที่บุคคลนั้นได้รับความเชื่อมั่นหรือไว้ใจให้ทำหน้าที่หรืองานต่าง ๆ เช่น การขับขี่ยานพาหนะ การมีความสัมพันธ์ทางเพศ การเป็นทหาร การเลือกตั้ง หรือการแต่งงานเป็นต้น การเป็นวัยรุ่นมักจะสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของเสรีภาพที่ได้รับจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือสิทธิตามกฎหมาย หรือความสามารถในการตัดสินใจในบางเรื่องโดยไม่ต้องขอความยินยอม

การเปลี่ยนแปลง

ผู้ชาย

ในช่วงวัยรุ่นผู้ชายจะมีเสียงแหบห้าวขึ้น เริ่มมีขนตรงอวัยวะเพศมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นรักแร้ ขา และตรงลำคอเริ่มมีลูกกระเดือกและเริ่มมีความรู้สึกทางเพศโดยเฉพาะช่วงวัยรุ่นตอนต้นมักจะสนใจผู้หญิงที่อายุมากกว่าเนื่องจากผู้หญิงที่แก่กว่าดูเป็นสาวเต็มตัวดูแล้วสมวัยกันต่างจากผู้หญิงในวัยเดียวกันยังดูเด็ก ๆ อยู่ และมีฝันเปียก

ผู้หญิง

เด็กวัยรุ่นผู้หญิง หน้าอกจะผายเริ่มมีเม็ดไตที่แข็ง มีขนขึ้นตามร่างกาย หรือแม้กระทั่งอวัยวะเพศ เริ่มมีประจำเดือน เริ่มมีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น เริ่มมีเสียงที่แหลม รูปร่างจะสูงขึ้น กระชับและได้สัดส่วนมากขึ้น

อ้างอิง

  1. Stehlik, Thomas (2018). Educational Philosophy for 21st Century Teachers. Springer. p. 131. ISBN 978-3319759692.
  2. Hu, Julie Xuemei; Nash, Shondrah Tarrezz (2019). Marriage and the Family: Mirror of a Diverse Global Society. Routledge. p. 302. ISBN 978-1317279846.
  3. "Puberty and adolescence". MedlinePlus. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 3, 2013. สืบค้นเมื่อ July 22, 2014.
  4. 4.0 4.1 "Adolescence". Psychology Today. สืบค้นเมื่อ April 7, 2012.
  5. Dorn L. D.; Biro F. M. (2011). "Puberty and Its Measurement: A Decade in Review. [Review]". Journal of Research on Adolescence. 21 (1): 180–195. doi:10.1111/j.1532-7795.2010.00722.x.
  6. Jaworska, Natalia; MacQueen, Glenda (September 2015). "Adolescence as a unique developmental period". Journal of Psychiatry & Neuroscience. 40 (5): 291–293. doi:10.1503/jpn.150268. PMC 4543091. PMID 26290063.
  7. "Adolescent health". www.who.int (ภาษาอังกฤษ).

แหล่งข้อมูลอื่น