ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชักแบบหัวเราะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox medical condition (new) | name = อาการชักแบบหัวเราะ | image = | image_size = | caption = | synonyms = | field = Neurology | symptoms = | complications = | onset = | duration = | types = | causes = | risks = | diagnosis = | differential = | prevention = | treatment = | medication = | p...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:09, 10 กันยายน 2565

อาการชักแบบหัวเราะ
สาขาวิชาNeurology

ชักแบบหัวเราะ[1] (อังกฤษ: gelastic seizure) หรือ โรคลมชักแบบหัวเราะ (อังกฤษ: gelastic epilepsy) เป็นอาการชักชนิดหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีพลังพลุ่งพล่านอย่างทันทีทันใด โดยมักแสดงออกเป็นอาการหัวเราะ[2] มักไม่มีสิ่งกระตุ้นชัดเจน พบได้ในเพศชายบ่อยกว่าเล็กน้อย

สาเหตุ

Tuber cinereum hamartomas (also known as hypothalamic hemartoma) are at the hypothalamus between the mamillary bodies

โดยดั้งเดิมแล้วมักถือกันว่าอาการชักแบบหัวเราะเป็นอาการที่สัมพันธ์กับเนื้องอกในสมองชนิดฮาร์มาโตมาที่ไฮโปทาลามัส (hypothalamic harmatoma)[3]

อ้างอิง

  1. "กรมการแพทย์เผย "อาการชักแบบหัวเราะ"". hfocus.org. 10 September 2022. สืบค้นเมื่อ 10 September 2022.
  2. "Not your everyday epilepsy" (PDF). Epilepsy Action Australia. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-17. สืบค้นเมื่อ 2011-07-04.
  3. C.P. Panayiotopoulos (2010). Atlas of epilepsies. London: Springer. p. 479. ISBN 9781848821279.