ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถั่วแปบ (พืช)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

{{Taxobox
{{speciesbox
| color = lightgreen
| name = ถั่วแปบ
| image = Arya.komak.bulak lor.2019.0.jpg
| image = Arya.komak.bulak lor.2019.0.jpg
| image_caption = ลักษณะทั่วไป
| image_width = 240px
| taxon = Lablab purpureus
| image_caption = ภาพลักษณะทั่วไป
| authority = ([[Carl Linnaeus|L.]]) [[Robert Sweet (botanist)|Sweet]]
| regnum = [[Plant]]ae
| synonyms = ''Dolichos lablab'' <small>L.</small><br/>
| divisio = [[Flowering plant|Magnoliophyta]]
''Dolichos purpureus'' <small>L.</small><br/>
| classis = [[Dicotyledon|Magnoliopsida]]
''Lablab niger'' <small>Medikus</small><br/>
| ordo = [[Fabales]]
''Lablab lablab'' <small>(L.) Lyons</small><br/>
| familia = [[Leguminosa]]/[[Fabaceae]]
''Lablab vulgaris'' <small>(L.) Savi</small><br/>
| subfamilia = [[Faboideae]]
''Vigna aristata'' <small>Piper</small>
| tribus = [[Vicieae]]
| synonyms_ref = <ref>[http://www.plantnames.unimelb.edu.au/Sorting/Lablab.html#purpureus ''Lablab purpureus''] at Multilingual taxonomic information from the [[University of Melbourne]]</ref>
| genus = ''[[Lablab]]''
| species = '''''L. purpureus'''''
| binomial = ''Lablab purpureus''
| binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]]) [[Robert Sweet (botanist)|Sweet]]
}}
}}

'''ถั่วแปบ''' เป็นชื่อไม้เถาชนิด ''Dolichos lablab'' L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วงฝักแบน ๆ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เบ่าะบาสะ ถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีแหล่งกระจายพันธุ์มาจากประเทศอินเดีย แล้วจึงกระจายพันธุ์ไปทางภูมิประเทศแบบเขตร้อนหรือร้อนชื้น ถั่วแปบมีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n=22) จำนวน 11 คู่ ที่มีอายุข้ามปี โดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือถั่วแปบเขียว (สีฝักจะมีสีเขียวเข้ม) และถั่วแปบขาว (ลักษณะฝักจะมีสีเขียวซีดขาว)
'''ถั่วแปบ''' เป็นชื่อไม้เถาชนิด ''Dolichos lablab'' L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วงฝักแบน ๆ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เบ่าะบาสะ ถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีแหล่งกระจายพันธุ์มาจากประเทศอินเดีย แล้วจึงกระจายพันธุ์ไปทางภูมิประเทศแบบเขตร้อนหรือร้อนชื้น ถั่วแปบมีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n=22) จำนวน 11 คู่ ที่มีอายุข้ามปี โดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือถั่วแปบเขียว (สีฝักจะมีสีเขียวเข้ม) และถั่วแปบขาว (ลักษณะฝักจะมีสีเขียวซีดขาว)


บรรทัด 31: บรรทัด 26:


ถั่วแปบยังพบว่ามีสาร ไฟโตฮีแมคกลูตินิน (Phytohemagglutinine) ที่ช่วยในการเร่งการผลิตเม็ดเลือดขาวของร่างกาย ลำต้นของถั่วแปบยังพบว่ามีสารแคโรทีน หรือบีตา-แคโรทีน และสาร ลูเทียน (Lutein) ในส่วนของรากถั่วแปบมีเอนไซม์ชนิดหนึ่ง และกรดอะมิโนแยกอิสระอีกหลายชนิด จึงเหมาะแก่การปลูกถั่วแปบเพื่อบำรุงรักษาดิน
ถั่วแปบยังพบว่ามีสาร ไฟโตฮีแมคกลูตินิน (Phytohemagglutinine) ที่ช่วยในการเร่งการผลิตเม็ดเลือดขาวของร่างกาย ลำต้นของถั่วแปบยังพบว่ามีสารแคโรทีน หรือบีตา-แคโรทีน และสาร ลูเทียน (Lutein) ในส่วนของรากถั่วแปบมีเอนไซม์ชนิดหนึ่ง และกรดอะมิโนแยกอิสระอีกหลายชนิด จึงเหมาะแก่การปลูกถั่วแปบเพื่อบำรุงรักษาดิน

==ภาพ==
<gallery>
<gallery>
ไฟล์:Arya.komak.bulak lor.2019.1.jpg|ภาพต้นถั่วแปบ
ไฟล์:Arya.komak.bulak lor.2019.1.jpg|ต้นถั่วแปบ
ไฟล์:BCBG lablab purpureus 02.jpg|ภาพใบถั่วแปบ
ไฟล์:BCBG lablab purpureus 02.jpg|ใบถั่วแปบ
ไฟล์:Labla purpu 130830-0093 tdp.JPG|ภาพฝักถั่วแปบ
ไฟล์:Labla purpu 130830-0093 tdp.JPG|ฝักถั่วแปบ
File:Lablab purpureus.JPG|ดอก
Image:Lablab purpureus Steve Hurst 1.jpg|เมล็ด
</gallery>
</gallery>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

{{เริ่มอ้างอิง}}
==อ่านเพิ่ม==
* Andrea M Murphy and Pablo E Colucci. 1999, [http://www.fao.org/ag/aga/agap/frg/afris/espanol/document/lrrd/lrrd11/2/colu112.htm/ A tropical forage solution to poor quality ruminant diets: A review of ''Lablab purpureus''],Escuela Nacional de Agricultura. Honduras.University of Guelph. Canada.
*{{cite journal |last1=Devaraj |first1=V. Rangaiah |year=2016 |title=Hyacinth bean: A gem among legumes. State of the art in ''Lablab purpureus'' research. |journal=Legume Perspectives |volume=13 |issue=2016–07 |pages=1–42 |url=https://www.legumesociety.org/wp-content/uploads/2019/12/legum_perspect_13.pdf}}
* [[ผู้ใช้:Yuktanan|ยุกตนันท์ จำปาเทศ]]. รายงานแมลงศัตรูถั่ว,ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดนครปฐม .
*{{cite journal |last1=Fakhoury |first1=A. M. |last2=Woloshuk |first2=C. P. |year=2001 |pmid=11497467 |title=Inhibition of Growth of ''Aspergillus'' flavusand Fungal α-Amylases by a Lectin-Like Protein from ''Lablab'' purpureus |journal=Molecular Plant-Microbe Interactions |volume=14 |issue=8 |pages=955–61 |doi=10.1094/MPMI.2001.14.8.955|doi-access=free }}
* สุขุม โชติช่วงมณีรัตน์.[http://www.rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/57-2_plant/57-2_plant.htm/ การปลูกถั่วแปบเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20071120011813/http://www.rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/57-2_plant/57-2_plant.htm |date=2007-11-20 }}, ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.จังหวัดนครราชสีมา
*{{cite journal |last1=Hendricksen |first1=R. |last2=Minson |first2=D. J. |year=2009 |title=The feed intake and grazing behaviour of cattle grazing a crop of ''Lablab purpureus'' cv. Rongai |journal=The Journal of Agricultural Science |volume=95 |issue=3 |pages=547–54 |doi=10.1017/S0021859600087955|s2cid=84231105 }}
* [http://lannathai.nomaki.jp/yasai01/tuapaep/tuapaep.htm/ ถั่วแปบ ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080114001413/http://lannathai.nomaki.jp/yasai01/tuapaep/tuapaep.htm |date=2008-01-14 }}3/01/2551
*{{cite journal |last1=Hendricksen |first1=RE|last2=Poppi |first2=DP |last3=Minson |first3=DJ |year=1981 |title=The voluntary intake, digestibility and retention time by cattle and sheep of stem and leaf fractions of a tropical legume (''Lablab purpureus'') |journal=Australian Journal of Agricultural Research |volume=32 |issue=2 |pages=389–98 |doi=10.1071/AR9810389}}
{{จบอ้างอิง}}
*{{cite journal |last1=Humphry |first1=E |last2=Konduri |first2=V |last3=Lambrides |first3=J |last4=Magner |first4=T |last5=McIntyre |first5=L |last6=Aitken |first6=B |last7=Liu |first7=J |year=2002 |title=Development of a mungbean (''Vigna radiata'') RFLP linkage map and its comparison with lablab (''Lablab purpureus'') reveals a high level of colinearity between the two genomes |journal=Theoretical and Applied Genetics |volume=105 |issue=1 |pages=160–6 |pmid=12582573 |doi=10.1007/s00122-002-0909-1|s2cid=19420328 }}
*{{cite journal |last1=Liu |first1=C. J. |year=1996 |title=Genetic diversity and relationships among ''Lablab purpureus'' genotypes evaluated using RAPD as markers |journal=Euphytica |volume=90 |issue=1 |pages=115–9 |doi=10.1007/BF00025167 |s2cid=31881073 |url=https://link.springer.com/article/10.1007%2FBF00025167}}
*{{cite journal |last1=Maass |first1=Brigitte L. |year=2006 |title= Changes in seed morphology, dormancy and germination from wild to cultivated germplasm of the hyacinth bean (''Lablab purpureus'' (L.) Sweet) |journal=Genetic Resources and Crop Evolution |volume=53 |issue=6 |pages=1127–35 |doi=10.1007/s10722-005-2782-7|s2cid=27644011 }}
*{{cite journal | last1=Maass |first1=Brigitte L. | last2=Jamnadass |first2=Ramni H. | last3=Hanson |first3=Jean | last4=Pengelly |first4=Bruce C. |year=2005 |title= Determining sources of diversity in cultivated and wild ''Lablab purpureus'' related to provenance of germplasm using amplified fragment length polymorphism (AFLP) |journal=Genetic Resources and Crop Evolution |volume=52 |issue=5 |pages=683–95 |doi= 10.1007/s10722-003-6019-3|s2cid=44040763 }}
*{{cite journal | last1=Maass |first1=Brigitte L. | last2=Robotham |first2=Oliver | last3=Chapman |first3=Marc A. |year=2017 |title= Evidence for two domestication events of hyacinth bean (''Lablab purpureus'' (L.) Sweet): a comparative analysis of population genetic data |journal=Genetic Resources and Crop Evolution |volume=64 |issue=6 |pages=1221–30 |doi= 10.1007/s10722-016-0431-y |s2cid=10921988 |url=https://eprints.soton.ac.uk/399955/1/Maass_etal2016Lablab_Comparative_accepted.pdf }}
*{{cite journal | last1=Maass |first1=Brigitte L. | last2=Usongo |first2=Macalister F. |year=2007 |title= Changes in seed characteristics during the domestication of the lablab bean (''Lablab purpureus'' (L.) Sweet: Papilionoideae) |journal= Australian Journal of Agricultural Research |volume=58 |issue=1 |pages=9–19 | doi=10.1071/ar05059}}
*{{cite journal |last1=Pengelly |first1=Bruce C. |last2=Maass |first2=Brigitte L. |year=2001 |title=''Lablab purpureus'' (L.) Sweet – diversity, potential use and determination of a core collection of this multi-purpose tropical legume |journal=Genetic Resources and Crop Evolution |volume=48 |issue=3 |pages=261–72 |doi=10.1023/A:1011286111384|s2cid=11125153 }}
*{{cite journal |last1=Trinick |first1=M. J. |year=1980 |title=Relationships Amongst the Fast-growing Rhizobia of ''Lablab purpureus'', ''Leucaena leucocephala'', ''Mimosa'' spp., ''Acacia farnesiana'' and ''Sesbania grandiflora'' and their Affinities with Other Rhizobial Groups |journal=Journal of Applied Bacteriology |volume=49 |issue=1 |pages=39–53 |doi=10.1111/j.1365-2672.1980.tb01042.x|doi-access=free }}
*{{cite journal |last1=Vanlauwe|first1=B. |last2=Nwoke |first2=O.C. |last3=Diels |first3=J. |last4=Sanginga|first4=N. |last5=Carsky |first5=R.J. |last6=Deckers |first6=J. |last7=Merckx |first7=R. |year=2000 |title=Utilization of rock phosphate by crops on a representative toposequence in the Northern Guinea savanna zone of Nigeria: Response by ''Mucuna pruriens'', ''Lablab purpureus'' and maize |journal=Soil Biology and Biochemistry |volume=32 |issue=14 |pages=2063–77 |doi=10.1016/S0038-0717(00)00149-8}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Lablab purpureus|Lablab purpureus<br>(ถั่วแปบ)}}
*[http://www.lablablab.org/ Dolichos bean, ''Lablab purpureus'' (L.) Sweet] by the University of Agricultural Sciences, Bangalore, India
*{{cite web |last=Avadhani |first=Ramesh |url=http://www.moodindico.com/index.php?token=story&id=116 |title=The Bangalore Beans |website=Mood Indico |volume=1 |issue=2 |date=Spring 2006 |access-date=2007-01-08 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130724100107/http://www.moodindico.com/index.php?token=story&id=116 |archive-date=2013-07-24 |url-status=dead }}
*[http://plants.jstor.org/taxon/Lablab.purpureus JSTOR Global Plants: ''Lablab purpureus'']

{{Taxonbar|from=Q1077410}}


[[หมวดหมู่:ผัก]]
[[หมวดหมู่:ผัก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:48, 18 พฤษภาคม 2565

ถั่วแปบ
ลักษณะทั่วไป
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: พืช
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
เคลด: พืชดอก
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
เคลด: โรสิด
อันดับ: ถั่ว
วงศ์: ถั่ว
วงศ์ย่อย: วงศ์ย่อยถั่ว
สกุล: Lablab
(L.) Sweet
สปีชีส์: Lablab purpureus
ชื่อทวินาม
Lablab purpureus
(L.) Sweet
ชื่อพ้อง[1]

Dolichos lablab L.
Dolichos purpureus L.
Lablab niger Medikus
Lablab lablab (L.) Lyons
Lablab vulgaris (L.) Savi
Vigna aristata Piper

ถั่วแปบ เป็นชื่อไม้เถาชนิด Dolichos lablab L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วงฝักแบน ๆ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เบ่าะบาสะ ถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีแหล่งกระจายพันธุ์มาจากประเทศอินเดีย แล้วจึงกระจายพันธุ์ไปทางภูมิประเทศแบบเขตร้อนหรือร้อนชื้น ถั่วแปบมีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n=22) จำนวน 11 คู่ ที่มีอายุข้ามปี โดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือถั่วแปบเขียว (สีฝักจะมีสีเขียวเข้ม) และถั่วแปบขาว (ลักษณะฝักจะมีสีเขียวซีดขาว)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้นถั่วแปบมีลำต้นเป็นไม้เลื้อยลำต้นบิด มีขนเล็กน้อย สูงประมาณ 1.5 เมตร - 3 เมตร บางพันธ์อาจสูงได้ถึงประมาณ 9 เมตร ลักษณะของใบ เป็นใบประกอบ 3 ใบ คล้ายรูปไข่ปลายเรียวแหลม ดอกมี 2 ชนิดคือ ชนิดดอกสีขาว และชนิดดอกสีม่วง เมล็ดอ่อนจะมีสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาลเข้ม หรือเป็นสีดำเมื่อแก่จัด

การใช้ประโยชน์

ฝักอ่อน เมล็ด ใช้ประกอบอาหาร เช่นแกงส้ม ผักลวกจิ้มกับน้ำพริก ใช้เป็นสมุนไพรบำรุงร่างกาย แก้อ่อนเพลีย บำรุงธาตุ แก้ไข้ แก้อาการแพ้ ปลูกเป็นพืชอาหารสัตว์ ปลูกเป็นพืชสำหรับทำปุ๋ย หรือเป็นพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ

สารอาหาร

ถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่ให้สารอาหารทางโปรตีนสูง คาร์โบไฮเดรต (กลูโคส กาแลกโทส และกลูตามิเนส) ไขมันชนิดฟอสฟาไทด์ แร่ธาตุ ได้แก่ แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส สังกะสี รวมไปถึงวิตามินเอ วิตามินบี วิตามินซี กรดแพนโรทีนิค

ถั่วแปบยังพบว่ามีสาร ไฟโตฮีแมคกลูตินิน (Phytohemagglutinine) ที่ช่วยในการเร่งการผลิตเม็ดเลือดขาวของร่างกาย ลำต้นของถั่วแปบยังพบว่ามีสารแคโรทีน หรือบีตา-แคโรทีน และสาร ลูเทียน (Lutein) ในส่วนของรากถั่วแปบมีเอนไซม์ชนิดหนึ่ง และกรดอะมิโนแยกอิสระอีกหลายชนิด จึงเหมาะแก่การปลูกถั่วแปบเพื่อบำรุงรักษาดิน

ภาพ

อ้างอิง

  1. Lablab purpureus at Multilingual taxonomic information from the University of Melbourne

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น