ข้ามไปเนื้อหา

แม่แบบ:การเปรียบเทียบน้ำมันประกอบอาหาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คุณสมบัติเปรียบเทียบของน้ำมันประกอบอาหาร (ต่อ 100 ก.)
ประเภทไขมัน ไขมันทั้งหมด (ก.) ไขมันอิ่มตัว (ก.) ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว (ก.) ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ (g) จุดก่อควัน
น้ำมันดอกทานตะวัน 100 11 20 69 225 องศาเซลเซียส (437 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันดอกทานตะวัน (กรดโอเลอิกสูง) 100 12 84[2] 4[2]
น้ำมันถั่วเหลือง 100 16 23 58 257 องศาเซลเซียส (495 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันคาโนลา 100 7 63 28 205 องศาเซลเซียส (401 องศาฟาเรนไฮต์)[2][3]
น้ำมันมะกอก 100 14 73 11 190 องศาเซลเซียส (374 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันข้าวโพด 100 15 30 55 230 องศาเซลเซียส (446 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันถั่วลิสง 100 17 46 32 225 องศาเซลเซียส (437 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันรำข้าว 100 25 38 37 250 องศาเซลเซียส (482 องศาฟาเรนไฮต์)[4]
เนยขาว (น้ำมันพืชเติมไฮโดรเจน) 71 23 8 37 165 องศาเซลเซียส (329 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
มันหมู 100 39 45 11 190 องศาเซลเซียส (374 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
Suet (มันแข็งริมไตสัตว์) 94 52 32 3 200 องศาเซลเซียส (392 องศาฟาเรนไฮต์)
เนย 81 51 21 3 150 องศาเซลเซียส (302 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
น้ำมันมะพร้าว 100 86 6 2 177 องศาเซลเซียส (351 องศาฟาเรนไฮต์)
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 The Culinary Institute of America (2011). The Professional Chef (9th ed.). Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons. ISBN 978-0-470-42135-2. OCLC 707248142.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Nutrient database, Release 25". United States Department of Agriculture.
  3. Katragadda, H. R.; Fullana, A. S.; Sidhu, S.; Carbonell-Barrachina, Á. A. (2010). "Emissions of volatile aldehydes from heated cooking oils". Food Chemistry. 120: 59. doi:10.1016/j.foodchem.2009.09.070.
  4. "Rice Bran Oil FAQ's". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-14. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[สร้าง]