เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแพ้คัดออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ถึง 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2566.[1] ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้าร่วมในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมแชมเปียนส์ของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022.[2]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ชนะเลิศของกลุ่มและรองชนะเลิศสามทีมใน รอบแบ่งกลุ่ม ได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย, กับสองโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–อี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม เอฟ–เจ) มีแปดทีมที่เข้ารอบ.

โซน กลุ่ม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
(สามทีมที่ดีที่สุด จากแต่ละโซน)
โซนตะวันตก เอ ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน
บี ซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ
ซี อิหร่าน ฟูลอด สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี
ดี ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
อี ซาอุดีอาระเบีย อัลฟัยศอลี อุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี
โซนตะวันออก เอฟ เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
จี ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
เอช ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
ไอ มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม
เจ ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ ฮ่องกง คิตฉี

รูปแบบ[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ตกรอบเดียว, กับทีมที่ถูกแบ่งออกเป็นสองโซนจนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ. แต่ละคู่จะลงเล่นในแมตช์เลกเดียวที่สนามเป็นกลาง (บทความข้อที่ 9.1), ยกเว้นรอบชิงชนะเลิศลงเล่นในฐานะแมตช์สองเลก. ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศถ้าในกรณีที่จำเป็น (บทความข้อที่ 9.3 และ 10.1).[2]

ตารางการแข่งขัน[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังนี้.[1]

รอบ วันที่
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 19–20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 18–19 สิงหาคม ค.ศ. 2022
รอบก่อนรองชนะเลิศ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 22 สิงหาคม ค.ศ. 2022
รอบรองชนะเลิศ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 25 สิงหาคม ค.ศ. 2022
รอบ เลกแรก เลกที่สอง
รอบชิงชนะเลิศ 29 เมษายน ค.ศ. 2023 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
                      
 
19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
(ลูกโทษ)
1 (7)
 
23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน1 (6)
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์2
 
19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
ซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ1
 
ซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ2
 
26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
อุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี0
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์0
 
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล7
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฟัยศอลี0
 
23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
อิหร่าน ฟูลอด1
 
อิหร่าน ฟูลอด0
 
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล1
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล3
 
29 เมษายน และ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี1
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล101
 
18 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์112
 
ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ3
 
22 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส2
 
ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ1
 
18 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - อุราวะ โกมาบะ
 
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
(ต่อเวลา)
3
 
เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี1
 
25 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
(ต่อเวลา)
2
 
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์2 (1)
 
19 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
(ลูกโทษ)
2 (3)
 
มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม0
 
22 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์5
 
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์4
 
19 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - อุราวะ โกมาบะ
 
ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด0
 
ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด4
 
 
ฮ่องกง คิตฉี เอสซี0
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้ายจะแข่งขันเพียงแค่เลคเดียว, การจัดโปรแกรมการแข่งขันใช้การจับฉลากคู่แข่งขันร่วมกับการพิจารณารองแชมป์กลุ่มที่ดีที่สุดผ่านเข้าสู่รอบนี้.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัลฮิลาล ซาอุดีอาระเบีย 3–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี
อัชชะบาบ ซาอุดีอาระเบีย 2–0 อุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 7–6)
ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน
อัลฟัยศอลี ซาอุดีอาระเบีย 0–1 อิหร่าน ฟูลอด


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
แทกู เอฟซี เกาหลีใต้ 1–2
(ต่อเวลา)
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ไทย 4–0 ฮ่องกง คิตฉี
โจโฮร์ดารุลตักซิม มาเลเซีย 0–5 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
วิสเซล โคเบะ ญี่ปุ่น 3–2 ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส


โซนตะวันตก[แก้]




โซนตะวันออก[แก้]




รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 2–1 ซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ
ฟูลอด อิหร่าน 0–1 ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
วิสเซล โคเบะ ญี่ปุ่น 1–3
(ต่อเวลา)
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
อูราวะ เรดไดมอนส์ ญี่ปุ่น 4–0 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด


โซนตะวันตก[แก้]


ฟูลอด อิหร่าน0–1ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
รายงาน มาเรกา Goal 87'
ผู้ชม: 14,173 คน
ผู้ตัดสิน: ฮิโรยูกิ คิมูระ (ญี่ปุ่น)

โซนตะวันออก[แก้]


รอบรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 0–7 ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ เกาหลีใต้ 2–2
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 1–3)
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์


โซนตะวันตก[แก้]

โซนตะวันออก[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในสองเลก.

หมายเหตุ[แก้]

  1. สนามกีฬาไซตามะ 2002 (ไซตามะ), สนามเหย้าตามปกติของอูราวะ เรดไดมอนส์ ซึ่งอาจจะไม่เปิดให้บริการได้เนื่องจากมีการปรับปรุงสนามในวันแรก (26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023). อูราวะ กำลังพิจารณาที่จะขอให้ เอเอฟซี เปลี่ยนตารางการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศเพื่อจัดการแข่งขันในบ้านของพวกเขาที่ สนามกีฬาไซตามะ 2002.[3] ต่อมา, หลังจากตารางการแข่งขันครั้งที่สอง, แมตช์เหย้าของอูราวะจะลงเล่นในวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 ที่สนามกีฬาไซตามะ 2002.[4].

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Latest update on the AFC Champions League 2022". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-01-13.
  2. 2.0 2.1 "AFC Champions League 2022 Competition Regulations" (PDF). the-AFC.com. Asian Football Confederation.
  3. "ACL2022決勝 第2戦の試合会場について(経過報告6)" [Stadium for ACL2022 Final second leg (progress 6)] (ภาษาญี่ปุ่น). Urawa Red Diamonds. 2022-11-10. สืบค้นเมื่อ 2022-11-18.
  4. "Qatar to stage decisive AFC Champions League 2022 (TM) (West) battles". Asian Football Confederation. 13 December 2022. สืบค้นเมื่อ 21 December 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]