เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร
วันที่7–17 สิงหาคม พ.ศ. 2562
ทีม16 (จาก 16 สมาคม)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศอิหร่าน เมส ซุนกุน
อันดับที่ 3เวียดนาม ท้ายเซินนัม
อันดับที่ 4อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู215 (6.72 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม16,776 (524 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น คะซึยะ ชิมิซุ (10 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น โทโมะกิ โยชิคะวะ
รางวัลแฟร์เพลย์อิหร่าน เมส ซุนกุน
2018
2020

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2019 หรือ การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2019 เป็นการแข่งขันสโมสรฟุตซอลอาชีพของทวีปเอเชีย ครั้งที่ 10 ภายใต้การรับรองจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7–17 สิงหาคม 2562 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1]

เมส ซุนกุน คือทีมแชมป์เก่า

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

สมาคม ทีม วิธีการเข้ารอบ ลงสนาม (ล่าสุด)
จีน จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง [zh] ชนะเลิศ ไชนีสฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 5 (2017)
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม ชนะเลิศ อินโดนีเซีย โปร ฟุตซอล ลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 3 (2018)
อิหร่าน อิหร่าน เมส ซุนกุน ชนะเลิศ อิหร่านฟุตซอลซูเปอร์ลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 2 (2018)
อิรัก อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต อันดับ 4 อิรักฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 5 (2018)
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ ชนะเลิศ เอฟ.ลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 9 (2018)
คูเวต คูเวต คัซมา รองชนะเลิศ คูเวนฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 1
คีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน อ็อช อีเร็ม ชนะเลิศ คีร์กีซสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 3 (2018)
เลบานอน เลบานอน แบงก์ออฟเบรุต ชนะเลิศ เลบานอนฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 5 (2018)
ประเทศพม่า เมียนมาร์ วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ รองชนะเลิศ เมียนมาร์ฟุคซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 2 (2018)
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ อัล-รายยาน ชนะเลิศ กาตาร์ฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 5 (2017)
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ เอฟเอส โซล ชนะเลิศ เอฟเค-ลีก ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 1
ทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน โซโร คอมปานี ชนะเลิศ ทาจิกิสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018 ครั้งที่ 1
ไทย ไทย (เจ้าภาพ) การท่าเรือ เอฟซี ุชนะเลิศ ฟุตซอลไทยลีก ฤดูกาล 2561 ครั้งที่ 2 (2010)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ดฮาฟราห์ ชนะเลิศ ยูเออี ฟุตซอล เฟเดอเรชัน คัพ ฤดูกาล 2018–19 ครั้งที่ 3 (2018)
อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค ชนะเลิศ อุซเบกิสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018 ครั้งที่ 4 (2018)
เวียดนาม เวียดนาม ท้ายเซินนัม ชนะเลิศ เวียดนามฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2018 ครั้งที่ 6 (2018)

สนามแข่งขัน[แก้]

หนองจอก, กรุงเทพมหานคร
บางกอกอารีนา
ความจุ: 12,000

ผู้เล่น[แก้]

แต่ละทีมจะมีการลงทะเบียนผู้เล่นจำนวน 14 คน โดยมีผู้รักษาประตูอย่างน้อยสองคน (ข้อบังคับบทความที่ 30.1 และ 30.2).[2]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น ICT (UTC+7).

ตารางการแข่งขัน
นัดที่ วัน/เดือน/ปี แมตช์
นัดที่ 1 7–8 สิงหาคม 2562 1 พบ 4, 2 พบ 3
นัดที่ 2 9–10 สิงหาคม 2562 4 พบ 2, 3 พบ 1
นัดที่ 3 11–12 สิงหาคม 2562 1 พบ 2, 3 พบ 4

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ไทย การท่าเรือ เอฟซี (H) 3 3 0 0 10 1 +9 9 รอบแพ้คัดออก
2 จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง 3 2 0 1 12 9 +3 6
3 คีร์กีซสถาน อ็อช อีเร็ม 3 1 0 2 8 14 −6 3
4 เกาหลีใต้ เอฟเอส โซล 3 0 0 3 5 11 −6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
อ็อช อีเร็ม คีร์กีซสถาน3–8จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง
Farahmand Goal 13'
Salimbaev Goal 32'37'
รายงาน Zhuang Jianfa Goal 9'22'
Gu Haitao Goal 12'
Hassanzadeh Goal 24'28'29'
Chen Zhiheng Goal 25'
Zeng Liang Goal 34'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Helday Idang (มาเลเซีย)

เอฟเอส โซล เกาหลีใต้3–5คีร์กีซสถาน อ็อช อีเร็ม
Park Han-ul Goal 6'
Lee Sun-ho Goal 21'
Seo Won-geon Goal 22'
รายงาน Mendibaev Goal 4'
Abdrasul Uulu Goal 13'
Alimov Goal 32'34'
Salimbaev Goal 40'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Jargalsaikhan Rentsenkhand (มองโกเลีย)

เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง จีน3–2เกาหลีใต้ เอฟเอส โซล
Hassanzadeh Goal 19'37'
Lu Yue Goal 30'
รายงาน Seo Won-geon Goal 11'
Lee Sun-ho Goal 25'

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เวียดนาม ท้ายเซินนัม 3 3 0 0 15 6 +9 9 รอบแพ้คัดออก
2 อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 3 2 0 1 13 12 +1 6
3 อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 3 1 0 2 16 15 +1 3
4 ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน 3 0 0 3 10 21 −11 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก9–4ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน
Zeyad Goal 7'
Caro Goal 13'23'23'34'
Khalid Goal 20'
Tavakoli Goal 21'
Faisal Goal 33'
Aldeen Goal 37'
รายงาน Al-Muhazaa Goal 8'
Taheri Goal 18'36'
Al-Boinin Goal 31'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Lee Po-fu (จีนไทเป)
ท้ายเซินนัม เวียดนาม4–1อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค
Nguyễn Minh Trí Goal 11'
Shimizu Goal 21'
Trần Thái Huy Goal 29'33'
รายงาน Usmonov Goal 6'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)

เอจีเอ็มเค อุซเบกิสถาน5–3อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
Ropiev Goal 15'25'31'
Zeyad Goal 29' (เข้าประตูตัวเอง)
Nishonov Goal 39'
รายงาน Caro Goal 14'40'
อัล-รายยาน ประเทศกาตาร์1–5เวียดนาม ท้ายเซินนัม
Golabvand Goal 13' รายงาน Trần Thái Huy Goal 20'33'
Shimizu Goal 32'37'
Vũ Đức Tùng Goal 36'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Rey Ritaga (ฟิลิปปินส์)

ท้ายเซินนัม เวียดนาม6–4อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
Shimizu Goal 4'9'
Phạm Đức Hoa Goal 11'35'
Vũ Đức Tùng Goal 26'
Hồ Văn Ý Goal 37'
รายงาน Khalid Goal 12'
Faisal Goal 12'
Aldeen Goal 29'
Tavakoli Goal 30'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)
อัล-รายยาน ประเทศกาตาร์5–7อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค
Taheri Goal 1'26'
Golabvand Goal 11'23'24'
รายงาน Choriev Goal 3' (ลูกโทษ)13'
Hamroev Goal 5'
Usmonov Goal 18'18'
Nishonov Goal 28'
Ropiev Goal 34'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เลบานอน แบงก์ออฟเบรุต 3 3 0 0 15 4 +11 9 รอบแพ้คัดออก
2 อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม 3 2 0 1 9 8 +1 6
3 ทาจิกิสถาน โซโร คอมปานี 3 1 0 2 12 18 −6 3
4 ประเทศพม่า วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ 3 0 0 3 7 13 −6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
วามอส มาตาราม อินโดนีเซีย6–4ทาจิกิสถาน โซโร คอมปานี
Wossiry Goal 3'
Syahidansyah Goal 3'
Al Fajri Goal 7'
Abedin Goal 7'
Bawana Goal 38'
Khalilvand Goal 40'
รายงาน Alimakhmadov Goal 7'
Sardorov Goal 13'24'
M. Sharipov Goal 32'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Husain Ali Al-Bahhar (บาห์เรน)
แบงก์ออฟเบรุต เลบานอน4–2ประเทศพม่า วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ
Koukezian Goal 2'
ศุภวุฒิ Goal 10'
Tomić Goal 29'
Tneich Goal 38'
รายงาน Aung Zin Oo Goal 19' (ลูกโทษ)
Naing Lin Tun Kyaw Goal 29'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: An Ran (จีน)

วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ ประเทศพม่า0–3อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม
รายงาน Sumawijaya Goal 19'
Iqbal Goal 39'
Khalilvand Goal 40'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Jong-hee (เกาหลีใต้)
โซโร คอมปานี ทาจิกิสถาน2–7เลบานอน แบงก์ออฟเบรุต
Sardorov Goal 7'21' รายงาน Tomić Goal 1'
El-Dine Goal 4'31'38'
Tneich Goal 5'
ศุภวุฒิ Goal 36'37'
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: Trương Quốc Dũng (เวียดนาม)

แบงก์ออฟเบรุต เลบานอน4–0อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม
ศุภวุฒิ Goal 25'
El-Dine Goal 26'
Koukezian Goal 31'39'
รายงาน
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Rey Ritaga (ฟิลิปปินส์)
โซโร คอมปานี ทาจิกิสถาน6–5ประเทศพม่า วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ
Kuziev Goal 5'
R. Sharipov Goal 6'
M. Sharipov Goal 15'
Alimakhmadov Goal 27'35'
Sangov Goal 34'
รายงาน Kaung Zaw Htet Goal 11'
Aung Zin Oo Goal 34'35'38'40'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Hasan Mousa Al-Gburi (อิรัก)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 3 3 0 0 10 5 +5 9 รอบแพ้คัดออก
2 อิหร่าน เมส ซุนกุน 3 2 0 1 15 5 +10 6
3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ดฮาฟราห์ 3 1 0 2 5 11 −6 3
4 คูเวต คัซมา 3 0 0 3 5 14 −9 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
นะโงะยะ โอเชียนส์ ญี่ปุ่น4–2สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ดฮาฟราห์
S. Hoshi Goal 15'
Hashimoto Goal 20'
Nishitani Goal 27'
Mizutani Goal 37'
รายงาน Hatakeyama Goal 4'
Lima Goal 40'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Anatoliy Rubakov (อุซเบกิสถาน)
เมส ซุนกุน อิหร่าน8–2คูเวต คัซมา
Taghizadeh Goal 3'31'
Askari Goal 12'19'
Javid Goal 20'
Bocão Goal 24'
Fakhimzadeh Goal 26'
Shajari Goal 38'
รายงาน Al-Khalifah Goal 28'
Hasan Goal 40'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Nurdin Bukuev (คีร์กีซสถาน)

คัซมา คูเวต1–3ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
Al-Farsi Goal 36' รายงาน Pepita Goal 12'36'
S. Hoshi Goal 27'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Husain Ali Al-Bahhar (บาห์เรน)
อัล-ดฮาฟราห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0–5อิหร่าน เมส ซุนกุน
รายงาน Shajari Goal 3'
Javid Goal 23'25'
Vafaei Goal 31'
Fakhimzadeh Goal 36'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)

เมส ซุนกุน อิหร่าน2–3ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
Vafaei Goal 19'
Fakhimzadeh Goal 30'
รายงาน Hirata Goal 8'
Pepita Goal 13'35'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)
อัล-ดฮาฟราห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์3–2คูเวต คัซมา
Lima Goal 29'
Ab. Al-Hosani Goal 32'
Hassan Goal 38'
รายงาน Al-Farsi Goal 21'
Hasan Goal 34'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Nurdin Bukuev (คีร์กีซสถาน)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมสุดท้ายรอบรองชนะเลิศ=รอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
14 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
 
ไทย การท่าเรือ เอฟซี3
 
15 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค4
 
อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค3
 
14 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อิหร่าน เมส ซุนกุน7
 
เลบานอน แบงก์ออฟเบรุต2
 
17 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อิหร่าน เมส ซุนกุน
(ต่อเวลา)
3
 
อิหร่าน เมส ซุนกุน0
 
14 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์2
 
เวียดนาม ท้ายเซินนัม5
 
15 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง1
 
เวียดนาม ท้ายเซินนัม1
 
14 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์3 นัดชิงอันดับที่ 3
 
ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์3
 
17 สิงหาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม1
 
อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค4
 
 
เวียดนาม ท้ายเซินนัม6
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]

นะโงะยะ โอเชียนส์ ญี่ปุ่น3–1อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม
Pepita Goal 9'
Hirata Goal 20'
Ando Goal 37'
รายงาน Sumawijaya Goal 39'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabi Afshar (อิหร่าน)

แบงก์ออฟเบรุต เลบานอน2–3 (ต่อเวลาพิเศษ)อิหร่าน เมส ซุนกุน
Tneich Goal 4'
El-Homsi Goal 12'
รายงาน Bocão Goal 3'
Javid Goal 38'
Fakhimzadeh Goal 44'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Trương Quốc Dũng (เวียดนาม)

ท้ายเซินนัม เวียดนาม5–1จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง
Shimizu Goal 22'35'
Trần Thái Huy Goal 30'
Nguyễn Minh Trí Goal 37'
Tôn Thất Phi Goal 38'
รายงาน Ding Shunjie Goal 40'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)

การท่าเรือ เอฟซี ไทย3–4อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค
อุสมานมูซา Goal 39'40'40' รายงาน Choriev Goal 3'40'
Hamroev Goal 26'
Usmonov Goal 35'

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ท้ายเซินนัม เวียดนาม1–3ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
Nguyễn Mạnh Dũng Goal 26' รายงาน Pepita Goal 5'16'
S. Hoshi Goal 35'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

เอจีเอ็มเค อุซเบกิสถาน3–7อิหร่าน เมส ซุนกุน
Usmonov Goal 18'
Choriev Goal 19'
D. Rakhmatov Goal 32'
รายงาน Askari Goal 9'31'
Fakhimzadeh Goal 12'
Shajari Goal 14'
Javid Goal 16'36'36'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Nurdin Bukuev (คีร์กีซสถาน)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

เอจีเอ็มเค อุซเบกิสถาน4–6เวียดนาม ท้ายเซินนัม
Usmonov Goal 1'
Adilov Goal 2'
Ropiev Goal 6'
Choriev Goal 34'
รายงาน Shimizu Goal 5'37'40'
Ropiev Goal 24' (เข้าประตูตัวเอง)
Nguyễn Mạnh Dũng Goal 27'
Trần Thái Huy Goal 28'

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

เมส ซุนกุน อิหร่าน0–2ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
รายงาน Hirata Goal 7'
Ando Goal 33'
ผู้ชม: 1,200 คน
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)

ชนะเลิศ[แก้]

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ
แชมเปียนส์ 2019
ญี่ปุ่น
นะโงะยะ โอเชียนส์
สมัยที่ 4

รางวัล[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[3] ผู้เล่นทรงคุณค่า[4] รางวัลแฟร์เพลย์[3]
ญี่ปุ่น คะซึยะ ชิมิซุ (10 ประตู)
(ท้ายเซินนัม)
ญี่ปุ่น โทโมะกิ โยชิคะวะ
(นะโงะยะ โอเชียนส์)
อิหร่าน เมส ซุนกุน

ผู้ทำประตู[แก้]

  ทีมตกรอบ / ไม่ได้อยู่ในรอบนี้.
อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 QF SF TP F ทั้งหมด
1 ญี่ปุ่น Kazuya Shimizu เวียดนาม ท้ายเซินนัม 1 2 2 2 3 10
2 อิหร่าน Mahdi Javid อิหร่าน เมส ซุนกุน 1 2 1 3 7
บราซิล Pepita ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 2 2 1 2
4 โคลอมเบีย Ángellott Caro อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 4 2 6
อุซเบกิสถาน Davron Choriev อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 2 2 1 1
อิหร่าน Ali Asghar Hassanzadeh จีน เซินเจิ้น หนานหลิง เทียหลัง 3 1 2
ไทย มูฮัมหมัด อุสมานมูซา ไทย การท่าเรือ เอฟซี 2 1 3
เวียดนาม Trần Thái Huy เวียดนาม ท้ายเซินนัม 2 2 1 1
อุซเบกิสถาน Akbar Usmonov อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 1 2 1 1 1
10 ประเทศพม่า Aung Zin Oo ประเทศพม่า วิกตอเรีย ยูนิเวอร์ซิตี คอลเลจ 1 4 5
อิหร่าน Farhad Fakhimzadeh อิหร่าน เมส ซุนกุน 1 1 1 1 1
อุซเบกิสถาน Ikhtiyor Ropiev อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 3 1 1

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 11 January 2019.
  2. "AFC Futsal Club Championship 2019 Competition Regulations". AFC.
  3. 3.0 3.1 "Nagoya Oceans win fourth title". AFC. 17 August 2019.
  4. "Nagoya Oceans' Yoshikawa wins MVP award". AFC. 17 August 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]