เรือบรรทุกอากาศยานชั้นควีนเอลิซาเบธ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรือหลวงควีนเอลิซาเบธ (ลำหน้า)
และเรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (ลำหลัง)
ประวัติ
สหราชอาณาจักร
ชื่อQueen Elizabeth
ตั้งชื่อตามเอลิซาเบธที่ 1[3]
ผู้ให้บริการราชนาวี
Ordered20 พฤษภาคม 2008
อู่เรือRosyth Dockyard
มูลค่าสร้างสองลำ: 6.1 พันล้านปอนด์[6]
ปล่อยเรือ7 กรกฎาคม 2009[2]
เดินเรือแรก17 กรกฎาคม 2014
Christened4 กรกฎาคม 2014
เข้าประจำการ7 ธันวาคม 2017[1]
บริการ2020[5]
ท่าจอดฐานทัพเรือพอร์ตสมัท
คำขวัญSemper Eadem ("เหมือนเดิมเสมอ")[4]
สถานะยังคงประจำการ
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: Queen Elizabeth-class aircraft carrier
ประเภท: เรือบรรทุกอากาศยานขนาดใหญ่
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 65,000 ตัน (64,000 long ton; 72,000 short ton)[7]
ความยาว: 284 m (932 ft)[8]
ความกว้าง:

39 m (128 ft) (ที่เส้นระดับน้ำ)

73 m (240 ft) ทั้งลำ
กินน้ำลึก: 11 m (36 ft)[9]
ดาดฟ้า:
  • 9 decks below the flight deck
ระบบขับเคลื่อน: ระบบขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า: เครื่องยนต์ของ Rolls-Royce Marine อัลเทอร์เนเตอร์แบบกังหันก๊าซ MT30 ให้กำลัง 36 MW และ เครื่องยนต์ดีเซล ให้กำลัง 10 MW จำนวนสี่ระบบ[10]
ความเร็ว: 25 นอต (46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 29 ไมล์ต่อชั่วโมง), tested to 32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 37 ไมล์ต่อชั่วโมง)[11]
พิสัยเชื้อเพลิง: 10,000 ไมล์ทะเล (19,000 กิโลเมตร)[5]
จำนวนเรือและอากาศยาน:
  • 2x เรือเล็กขนส่งผู้โดยสาร (36 นาย)
* 2x Pacific 24 RHIBs
ความจุ: 1,600 ผู้โดยสาร
กำลังพล: 250 นาย
อัตราเต็มที่: 679 นาย
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:
  • เรดาร์พิสัยไกล S1850M
  • เรดาร์พิสัยกลาง Type 997 Artisan 3D
  • ระบบทัศนูปกรณ์ไฟฟ้า Ultra Electronics Series 2500
ยุทโธปกรณ์:
  • 3 × Phalanx CIWS[10]
  • 4 × 30mm DS30M Mk2 guns (for but not with)[12]
  • 6 × Miniguns[5] (retired in 2023 and replaced by Browning .50 caliber heavy machine guns)[13]
  • อากาศยาน:
  • ตามแผนจะบรรทุก F-35 จำนวน 24 ถึง 36 เครื่องต่อลำ และเฮลิคอปเตอร์ [14][15]
  • F-35B ไลท์นิง 2
  • ชีนุค
  • อาพาชี AH MK1
  • AH-64E Apache Guardian
  • Merlin HM2 และ HC4
  • Wildcat AH1 และ HMA2
  • Merlin Crowsnest AEW
  • อุปกรณ์สนับสนุนการบิน:
  • โรงเก็บอากาศยานใต้ดาดฟ้า
  • ลิฟท์อากาศยานจำนวนสองระบบ
  • อุปกรณ์เติมเชื้อเพลิงและเติมอาวุธ
  • สกีจัมป์
  • ควีนเอลิซาเบธ เป็นชั้นเรือบรรทุกอากาศยานของราชนาวีสหราชอาณาจักร สร้างขึ้นจำนวนสองลำ ได้แก่ เรือหลวงควีนเอลิซาเบธ และเรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ มีความสามารถบรรทุกอากาศยานจำนวนหกสิบลำ ทั้งแบบปีกตรึงและแบบปีกหมุน[16] เรือชั้นนี้รับเอาชื่อจากเรือหลวงควีนเอลิซาเบธลำแรกซึ่งเป็นเรือรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งตั้งชื่อตามสมเด็จพระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 1

    ในปี 2007 สหราชอาณาจักรประกาศการสร้างเรือบรรทุกอากาศยานจำนวนสองลำ[17] และตั้งงบประมาณสำหรับสองลำไว้ที่ 4,085 ล้านปอนด์ อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างก็ประสบความล่าช้า และงบประมาณบานปลายขึ้นตามลำดับ ท้ายที่สุดในปี 2013 มีการเจรจาต่อรองแก้ไขสัญญาจนจบที่ 6,200 ล้านปอนด์[18]

    เรือชั้นนี้เริ่มสร้างในปี 2009 และแล่นทดสอบในเดือนมิถุนายน 2017[19] เข้าประจำการในเดือนธันวาคม 2017 และเริ่มปฏิบัติการในปี 2020 ชั้นเรือนี้ถูกออกแบบให้รองรับอากาศยานขึ้นลงแนวดิ่ง ซึ่งเป็นการออกแบบเพื่อเครื่องบินขับไล่ F-35 ไลท์นิง 2 และยังมีเฮเลคอปเตอร์ AgustaWestland AW101 สำหรับเตือนภัยล่วงหน้าทางอากาศและปราบเรือดำน้ำ เรือชั้นนี้ยังถูกออกแบบให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน สามารถรองรับกำลังพลราชนาวิกโยธิน 250 นายพร้อมส่วนสนับสนุนอย่างเฮลิคอปเตอร์โจมตี และเฮลิคอปเตอร์ลำเลียงขนาดใหญ่ อย่างเช่น CH-47 ชีนุก ฐานปฏิบัติการอยู่ที่ฐานทัพเรือพอร์ตสมัท[20]

    อ้างอิง[แก้]

    1. "Queen to commission namesake aircraft carrier in three weeks, Defence Secretary announces on flight-deck". Royal Navy. 16 November 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2017. สืบค้นเมื่อ 16 November 2017.
    2. "Work begins on aircraft carriers". BBC News. 7 July 2009. สืบค้นเมื่อ 11 March 2011.
    3. Allison, George (4 March 2018). "Royal Navy press team confirm which monarch HMS Queen Elizabeth is named for". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 March 2018. สืบค้นเมื่อ 4 March 2018.
    4. "Queen Elizabeth's veterans Pride in Britain's new carrier". Royal Navy (ภาษาอังกฤษ). 3 July 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2018. สืบค้นเมื่อ 23 January 2018.
    5. 5.0 5.1 5.2 "Key facts about the Queen Elizabeth class" (PDF). Aircraft Carrier Alliance. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2017. สืบค้นเมื่อ 7 June 2015.
    6. Pocock, Chris (18 July 2014). "British Carrier Remains Controversial". Aviation International News Online. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2018. สืบค้นเมื่อ 5 July 2018.
    7. "HMS Queen Elizabeth". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
    8. "Future Ships: Queen Elizabeth class". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2013. สืบค้นเมื่อ 12 August 2013.
    9. "Future Aircraft Carrier (CVF) Facts and Figures". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2008. สืบค้นเมื่อ 21 May 2008.
    10. 10.0 10.1 "Queen Elizabeth class aircraft carrier: A Guide". UK Defence Journal. 2 January 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2017. สืบค้นเมื่อ 6 February 2017.
    11. Allison, George (24 July 2017). "HMS Queen Elizabeth exceeds stated maximum speed on trials". UK Defence Journal.
    12. "Close-in defence for the Royal Navy's aircraft carriers". Navy Lookout.com. 28 April 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.
    13. "In focus: the Fleet Solid Support ship design". Navy Lookout. 28 February 2023. สืบค้นเมื่อ 14 April 2023.
    14. Allison, George (6 December 2016). "What will the Queen Elizabeth class carriers carry?". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017. สืบค้นเมื่อ 24 January 2017.
    15. Hankinson, Andrew (19 March 2017). "Replacing the Invincibles: Inside the Royal Navy's controversial £6.2 billion warships". Wired UK. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2017. สืบค้นเมื่อ 29 August 2017.
    16. Allison, George (9 February 2018). "What kind of aircraft and how many of them will HMS Queen Elizabeth carry?". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2018. สืบค้นเมื่อ 8 April 2020.
    17. "Ministry of Defence Major Projects Report 2010 HC489-I" (PDF). House of Commons Defence Committee. 15 October 2010. p. 7 and fig 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 November 2013.
    18. "House of Commons Hansard Debates for 6 November 2013 (pt 0001)". UK Parliament. 6 November 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2013. สืบค้นเมื่อ 3 January 2014.
    19. "Queen Elizabeth Due To Set Sail From Rosyth today". BBC News. 26 June 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2017. สืบค้นเมื่อ 26 June 2017.
    20. "Portsmouth Naval Base facts". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2008. สืบค้นเมื่อ 11 December 2008.