เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
2019–20 เดเอ็ฟเบ-โพคาล
เยอรมัน คัพ
ประเทศเยอรมนี
วันที่แข่งขัน9 สิงหาคม ค.ศ. 2019 – 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2020
จำนวนทีม64
ชนะเลิศไบเอิร์นมิวนิก (20 title)
รองชนะเลิศไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
ยูโรปาลีก1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์[note 1]
สนามชิงชนะเลิศโอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน
ผลรอบชิงชนะเลิศ4–2
จำนวนนัด63
จำนวนประตู245 (3.89 ประตูต่อนัด)
จำนวนผู้ชม1,321,688 (20,979 คนต่อนัด)[note 2]
ผู้ทำประตูสูงสุดรอแบร์ต แลวันดอฟสกี (6 ประตู)
ประตูที่ทำได้ในการยิงลูกโทษไม่นับรวม.

เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 เป็นฤดูกาลที่ 77 ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยเยอรมันแบบแพ้คัดออกประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) กับรอบแรกจากหกรอบและจะสิ้นสุดลงในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) กับรอบชิงชนะเลิศที่ สนามกีฬาโอลิมปิก ใน เบอร์ลิน.[1] ทีมชนะเลิศของเดเอ็ฟเบ-โพคาลนั้นจะได้สิทธิ์สำหรับปีถัดไปของ ยูฟ่ายูโรปาลีก, ถ้าไม่ได้สิทธิ์อยู่แล้วสำหรับ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ผ่านอันดับในลีก.

ตารางการแข่งขันในแต่ละรอบ[แก้]

แต่ละรอบของการแข่งขันฤดูกาล 2019–20 ที่มีกำหนดไว้ดังต่อไปนี้:[2][3]

รอบ วันที่จับสลาก นัด
รอบแรก 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) 9–12 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)
รอบสอง 18 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) 29–30 ตุลาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) 4–5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
รอบก่อนรองชนะเลิศ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) 3–4 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
รอบรองชนะเลิศ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) 21–22 เมษายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
รอบชิงชนะเลิศ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ที่ สนามกีฬาโอลิมปิก, เบอร์ลิน

แมตช์การแข่งขัน[แก้]

ทั้งหมดหกสิบสามนัดที่จะลงเล่น, เริ่มต้นกับรอบแรกเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) และปิดท้ายด้วยรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ที่ สนามกีฬาโอลิมปิก ใน เบอร์ลิน.

เวลาจนถึงวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) และตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) คือ CEST (UTC+2). เวลาตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ถึง 28 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) คือ CET (UTC+1).

รอบแรก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบแรกจะจัดขึ้นในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในเวลา 18:00 (เวลาท้องถิ่น), กับ เนีย คืนเซอร์ เป็นผู้ทำการจับสลากในแต่ละนัด.[4] สามสิบสองนัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 9 ถึง 12 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[5]

10 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เอ็ฟเซ 08 ฟิลลินเกิน1–3 (ต่อเวลาพิเศษ)ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟฟิลลินเกิน-ชเว็นนินเกิน
15:30 อูโคห์ Goal 42' (ลูกโทษ) รายงาน อัมโปมาห์ Goal 56'
โอโฟรี Goal 102'
เฮนนิงส์ Goal 116'
สนามกีฬา: เอ็มเอ็ส เต็คโนโลจี อาเรนา
ผู้ชมในสนาม: 8,000 คน
ผู้ตัดสิน: ฟลอเรียน เฮฟต์
10 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เอ็สเฟา ดร็อชเทอร์เซิน/อัสเซิล0–5ชัลเคอ 04ดร็อชเทอร์เซิน
15:30 รายงาน สคร์ซืบสกี Goal 44'
บูร์กสตัลเลอร์ Goal 61'83'
คาลิจิอูรี Goal 65' (ลูกโทษ)
เมอร์คัน Goal 73'
สนามกีฬา: เคห์ดินเกอร์ ชตาดิโอน
ผู้ชมในสนาม: 8,000 คน
ผู้ตัดสิน: มิชาเอ็ล บาแชร์
10 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เอ็สเซ เฟิร์ล2–1เอ็ฟเซ เอาค์สบวร์คเฟิร์ล
15:30 ซูชี Goal 8' (เข้าประตูตัวเอง)
ชัลเลินแบร์ก Goal 23'
รายงาน ฮาห์น Goal 83' (ลูกโทษ) สนามกีฬา: ชปอร์ตคลับ อาเรนา
ผู้ชมในสนาม: 4,198 คน
ผู้ตัดสิน: มัททิอัส เยือลเลินเบ็ค
10 สิงหาคม พ.ศ. 2562 วัคเกอร์ นอร์ดเฮาเซิน1–4แอร์เซเบียร์เก เอานอร์ดเฮาเซิน
15:30 มิคเคิลส์ Goal 22' รายงาน เบาม์การ์ต Goal 38'
ฮ็อชสไชดท์ Goal 57'
เทสโตรเอ็ต Goal 80'84'
สนามกีฬา: อัลแบร์ต-คุนท์ซ-ชปอร์ตปาร์ค
ผู้ชมในสนาม: 4,347 คน
ผู้ตัดสิน: คริสตอฟ กืนสช์
10 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เคเอ็สเฟา เบานาทัล2–3เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุมเบานาทัล
18:30 บลาเฮาต์ Goal 32'
ชราเดอร์ Goal 45+2'
รายงาน กันวูลา Goal 17' (ลูกโทษ)70'73' สนามกีฬา: ปาร์คชตาดิโอน เบานาทัล
ผู้ชมในสนาม: 5,748 คน
ผู้ตัดสิน: ว็อล์ฟกัง ฮาสล์แบร์เกอร์
11 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เอ็ฟเอ็สเฟา ซาล์มโรห์ร0–6ฮ็อลสไตน์ คีลซาล์มทัล
15:30 รายงาน บากู Goal 39'65'76'
อี Goal 54'
อาตันกา Goal 63'
พอรัท Goal 88'
สนามกีฬา: ซาล์มทัลชตาดิโอน
ผู้ชมในสนาม: 6,500 คน
ผู้ตัดสิน: ทอร์เบิน ไซเวอร์
11 สิงหาคม พ.ศ. 2562 แกร์มาเนีย ฮัลแบร์ชตัดท์0–6อูนีโอนแบร์ลีนฮัลแบร์ชตัดท์
15:30 รายงาน ชล็อทเทอร์เบ็ค Goal 27'
อันเดอร์สสัน Goal 65'
เลนซ์ Goal 67'
มีส Goal 71'
อันดริช Goal 76'
อูจาห์ Goal 89'
สนามกีฬา: ไฟรเดินชตาดิอ็อน
ผู้ชมในสนาม: 6,000 คน
ผู้ตัดสิน: โทเบียส ไรเชิล
11 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เอ็ฟเซ โอเบอร์นอยลันด์1–6ดาร์มชตัดท์ 98เบรเมิน
15:30 โยเบ Goal 48' รายงาน ชเนิลล์ฮาร์ดท์ Goal 32'
เมห์เลิม Goal 37'
ดูร์ซัน Goal 43'56'75'
สการ์เกอ Goal 89'
สนามกีฬา: ฟลอเรียน เวลล์มันน์ สตาดิอ็อน
ผู้ชมในสนาม: 4,500 คน
ผู้ตัดสิน: ปาสกาล มึลเลอร์
11 สิงหาคม พ.ศ. 2562 แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน3–2ยาห์น เรเกินส์บวร์คฟ็อล์กลินเกิน[note 8]
15:30 ยูร์เชอร์ Goal 53'90+3'
เซอิตซ์ Goal 76'
รายงาน เบซัสช์คอว์ Goal 64' (ลูกโทษ)
กรืทท์เนอร์ Goal 74'
สนามกีฬา: แฮร์มันน์-นอยแบร์เกอร์-ชตาดิอ็อน
ผู้ชมในสนาม: 4,000 คน
ผู้ตัดสิน: สเวน วัสชิตซ์กี

รอบสอง[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบสองจะจัดขึ้นในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในเวลา 18:00 กับ เซบัสทีอัน เคล เป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้[6] สิบหกนัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 29 ถึง 30 ตุลาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)[2]

29 ตุลาคม พ.ศ. 2562 เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม1–2ไบเอิร์นมิวนิกโบคุม
20:00 เดวีส์ Goal 35' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน ญาบรี Goal 83'
มึลเลอร์ Goal 89'
สนามกีฬา: ฟอนอเฟีย รูห์รชตาดิอ็อน
ผู้ชมในสนาม: 26,600 คน
ผู้ตัดสิน: รอแบร์ต ชโรเดอร์

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้ายได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ณ เวลา 18:00, กับ ตูริด คนาอัค เป็นผู้จับสลากในแต่ละนัด.[7] แปดคู่จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 4 ถึง 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[8]

5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เอ็สเซ เฟิร์ล0–1อูนีโอนแบร์ลีนเฟิร์ล
18:30 รายงาน อันดริช Goal 85' สนามกีฬา: สปอร์ตคลับ อาเรนา
ผู้ชมในสนาม: 5,135 คน
ผู้ตัดสิน: สเวน จาบลอนสกี
5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ไบเอิร์นมิวนิก4–31899 ฮ็อฟเฟินไฮม์มิวนิก
20:45 ฮูบเนอร์ Goal 13' (เข้าประตูตัวเอง)
มึลเลอร์ Goal 20'
แลวันดอฟสกี Goal 36'80'
รายงาน โบอาเทง Goal 8' (เข้าประตูตัวเอง)
ดาบัวร์ Goal 82'90+2'
สนามกีฬา: อัลลีอันทซ์อาเรนา
ผู้ชมในสนาม: 71,500 คน
ผู้ตัดสิน: ซาสชา สเตเกอมันน์

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ณ เวลา 18:00, กับ กาเกา เป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้.[9] สี่นัดจะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 3 ถึง 4 มีนาคม ค.ศ. 2020.[10]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ณ เวลา 18:00, กับ อัลมุท ชุลต์ เป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้.[11] สองนัดจะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 21 ถึง 22 เมษายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[2]

แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน ของ เรกิโอนัลลิกา ซืดเวสต์ กลายเป็นสโมสรแรกในดิวิชันสี่ในประวัติศาสตร์ของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ที่ทะลุมาถึงรอบรองชนะเลิศของการแข่งขัน.[12]

แมตช์ในรอบนี้ได้ถูกเลื่อนการแข่งขันเนื่องจาก การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2563.[13] การตัดสินใจครั้งใหม่ที่เกี่ยวกับการเริ่มต้นใหม่ของการแข่งขัน, คล้ายกับ บุนเดิสลิกา และ ชไวเทอบุนเดิสลีกา, จะจัดขึ้นในการประชุมวิสามัญของ DFB-Bundestag เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[14] เดเอ็ฟเบเสนอให้รอบรองชนะเลิศจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 9 ถึง 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[15]

แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน0–3ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
รายงาน ดิอาบี Goal 11'
อาลาริโอ Goal 19'
เบลลาราบี Goal 58'
แฮร์มันน์-นอยแบร์เกอร์-ชตาดิอ็อน, ฟ็อล์กลินเกิน[note 8]
ผู้ชม: 0 คน[note 10]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

รอบชิงชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ที่ โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[2]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบแรก
9–12 สิงหาคม 2019
รอบสอง
29–30 ตุลาคม 2019
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
4–5 กุมภาพันธ์ 2020
รอบก่อนรองชนะเลิศ
3–4 มีนาคม 2020
รอบรองชนะเลิศ
9–10 มิถุนายน 2020
รอบชิงชนะเลิศ
รอระบุ 2020
 
                      
 
 
 
 
วิกตอเรีย แบร์ลีน0
 
 
 
อาร์มีเนีย บีเลอเฟิลด์1
 
อาร์มีเนีย บีเลอเฟิลด์2
 
 
 
ชัลเคอ 043
 
เอ็สเฟา ดร็อชเทอร์เซิน/อัสเซิล0
 
 
 
ชัลเคอ 045
 
ชัลเคอ 04
(ต่อเวลา)
3
 
 
 
แฮร์ทา เบเอ็สเซ2
 
เฟาเอ็ฟเบ ไอช์ชตัทท์1
 
 
 
แฮร์ทา เบเอ็สเซ5
 
แฮร์ทา เบเอ็สเซ
(ลูกโทษ)
3 (5)
 
 
 
ดีนาโม เดรสเดิน3 (4)
 
เตอูเอ็ส ดัสเซินดอร์ฟ0
 
 
 
ดีนาโม เดรสเดิน3
 
ชัลเคอ 040
 
 
 
ไบเอิร์นมิวนิก1
 
เคเอ็สเฟา เบานาทัล2
 
 
 
เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม3
 
เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม1
 
 
 
ไบเอิร์นมิวนิก2
 
เอเนอร์จี คอทท์บุส1
 
 
 
ไบเอิร์นมิวนิก3
 
ไบเอิร์นมิวนิก4
 
 
 
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์3
 
เอ็มเอ็สเฟา ดืสบวร์ค2
 
 
 
กรอยเทอร์ เฟือร์ท0
 
เอ็มเอ็สเฟา ดืสบวร์ค0
 
 
 
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์2
 
เวือร์ซบวร์เกอร์ คิคเกอร์ส3 (4)
 
 
 
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์
(ลูกโทษ)
3 (5)
 
ไบเอิร์นมิวนิก2
 
 
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท1
 
เฟาเอ็ฟเบ ลือเบ็ค3 (3)
 
 
 
เอ็ฟเซ ซังต์. เพาลี
(ลูกโทษ)
3 (4)
 
เอ็ฟเซ ซังต์. เพาลี1
 
 
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท2
 
วัลด์ฮ็อฟ มันน์ไฮม์3
 
 
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท5
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท3
 
 
 
แอร์เบ ไลพ์ซิช1
 
ฮัลเลิสเชอร์ เอ็ฟเซ3
 
 
 
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค
(ต่อเวลา)
5
 
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค1
 
 
 
แอร์เบ ไลพ์ซิช6
 
เฟาเอ็ฟเอ็ล อ็อสนาบรึค2
 
 
 
แอร์เบ ไลพ์ซิช3
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท2
 
 
 
แวร์เดอร์เบรเมิน0
 
อัตลาส เด็ลเมินฮอร์สท์1
 
 
 
แวร์เดอร์เบรเมิน6
 
แวร์เดอร์เบรเมิน4
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไฮเดินไฮม์1
 
เอ็สเอ็สเฟา อุล์ม0
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไฮเดินไฮม์2
 
แวร์เดอร์เบรเมิน3
 
 
 
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์2
 
เคเอ็ฟเซ เอือร์ดินเกิน0
 
 
 
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์2
 
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์2
 
 
 
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค1
 
เอ็สเฟา ซานด์เฮาเซิน0
 
 
 
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค1
 
ไบเอิร์นมิวนิก4
 
 
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน2
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน3
 
 
 
ยาห์น เรเกินส์บวร์ค2
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน3
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิล์น2
 
เวเฮิน ไวส์บาเดิน3 (2)
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิล์น
(ลูกโทษ)
3 (3)
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน
(ลูกโทษ)
0 (5)
 
 
 
คาลส์รูเออ เอ็สเซ0 (3)
 
เอ็ฟเซ โอเบอร์นอยลันด์1
 
 
 
ดาร์มชตัดท์ 986
 
ดาร์มชตัดท์ 980
 
 
 
คาลส์รูเออ เอ็สเซ1
 
คาลส์รูเออ เอ็สเซ2
 
 
 
ฮันโนเฟอร์ 960
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน
(ลูกโทษ)
1 (7)
 
 
 
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ1 (6)
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไคเซิร์สเลาเทิร์น2
 
 
 
ไมนทซ์ 050
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไคเซิร์สเลาเทิร์น
(ลูกโทษ)
2 (6)
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เนือร์นแบร์ค2 (5)
 
เอ็ฟเซ อิงก็อลชตัท0
 
 
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เนือร์นแบร์ค1
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไคเซิร์สเลาเทิร์น2
 
 
 
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ5
 
เอ็ฟเซ 08 ฟิลลินเกิน1
 
 
 
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ
(ต่อเวลา)
3
 
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ2
 
 
 
แอร์เซเบียร์เก เอา1
 
วัคเกอร์ นอร์ดเฮาเซิน1
 
 
 
แอร์เซเบียร์เก เอา4
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน0
 
 
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน3
 
อาเลมันเนีย อาเคิน1
 
 
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน4
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน1
 
 
 
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น0
 
เอ็สเฟา รือดิงก์เฮาเซิน3 (2)
 
 
 
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น
(ลูกโทษ)
3 (4)
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน2
 
 
 
เฟาเอ็ฟเบ ชตุทท์การ์ท1
 
เค็มนิทเซอร์ เอ็ฟเซ2 (5)
 
 
 
ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา
(ลูกโทษ)
2 (6)
 
ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา1
 
 
 
เฟาเอ็ฟเบ ชตุทท์การ์ท
(ต่อเวลา)
2
 
ฮันซาร็อสท็อค0
 
 
 
เฟาเอ็ฟเบ ชตุทท์การ์ท1
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน3
 
 
 
อูนีโอนแบร์ลีน1
 
เอ็สเซ เฟิร์ล2
 
 
 
เอ็ฟเซ เอาค์สบวร์ค1
 
เอ็สเซ เฟิร์ล
(ลูกโทษ)
1 (8)
 
 
 
ฮ็อลสไตน์ คีล1 (7)
 
เอ็ฟเอ็สเฟา ซาล์มโรห์ร0
 
 
 
ฮ็อลสไตน์ คีล6
 
เอ็สเซ เฟิร์ล0
 
 
 
อูนีโอนแบร์ลีน1
 
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ มักเดบวร์ค0
 
 
 
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
(ต่อเวลา)
1
 
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค1
 
 
 
อูนีโอนแบร์ลีน3
 
แกร์มาเนีย ฮัลแบร์ชตัดท์0
 
 
อูนีโอนแบร์ลีน6
 

อันดับผู้ทำประตู[แก้]

ด้านล่างนี้คือผู่ทำประตูสูงสุดของเดเอ็ฟเบ-โพคาล, เรียงลำดับแรกโดยจำนวนประตู, และหลังจากนั้นเป็นเรียงลำดับตามตัวอักษรถ้ากรณีที่จำเป็น.[16] ประตูที่ทำได้ในการดวลลูกโทษจะไม่นำมานับรวม.

อันดับ ผู้เล่น ทีม ประตู
1 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก 6
2 เยอรมนี รูเวน เฮนนิงส์ ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ 4
3 อาร์เจนตินา ลูคัส อาลาริโอ ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 3
เยอรมนี รอแบร์ต อันดริช อูนีโอนแบร์ลีน
เยอรมนี มากานา บากู ฮอลสไตน์ คีล
เยอรมนี เซอร์ดาร์ ดูร์ซุน ดาร์มชตัดท์ 98
สาธารณรัฐคองโก ซิลเวเร กันวูลา เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม
เยอรมนี กิลเลียน จูร์เชอร์ แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน
เซอร์เบีย ฟิลิป คอสติช ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท
เบลเยียม เบนิโต รามัน ชัลเคอ 04
คอซอวอ มิลอต ราชิกา แวร์เดอร์เบรเมิน
โครเอเชีย อันเท เรบิช ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท
ออสเตรีย มาร์เซล ซาบิตเซอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช

หมายเหตุ[แก้]

  1. Since the winners of the DFB-Pokal qualified for the Champions League based on their league position, the Europa League group stage spot awarded to the DFB-Pokal winner was passed to the sixth-placed team in the Bundesliga, TSG 1899 Hoffenheim.
  2. ค่าเฉลี่ยจำนวนผู้ชมเป็น 22,028 ก่อนหน้านี้ในระยะ 60 นัด สู่โปรแกรมการแข่งขันจะลงเล่นหลังปิดประตูสนามแข่งขัน.
  3. The KFC Uerdingen v Borussia Dortmund match took place at the Merkur Spiel-Arena in Düsseldorf instead of KFC Uerdingen's home stadium.
  4. แมตช์ระหว่าง เอ็สเฟา ซานด์เฮาเซิน พบ โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค, ตามกำหนดเดิมจะเป็นเวลา 20:45 CEST, เป็นการเลื่อนเวลาไปเป็น 21:30 CEST เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน.
  5. แมตช์ระหว่าง เตอูเอ็ส ดัสเซินดอร์ฟ พบ ดีนาโม เดรสเดิน ได้จัดขึ้นที่ ชตาดิโอน ซวิคเคา ใน ซวิคเคา แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าของ เตอูเอ็ส ดัสเซินด็อร์ฟ.
  6. แมตช์ระหว่าง วิกตอเรีย แบร์ลีน พบ อาร์มีเนีย บีเลอเฟิลด์ ได้จัดขึ้นที่ ไฟรดริช-ลุดวิก-ยาห์น-ชปอร์ตปาร์ค ใน เบอร์ลิน แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าของวิกตอเรีย แบร์ลีน.
  7. แมตช์ระหว่าง อัตลาส เด็ลเมินฮอร์สท์ พบ แวร์เดอร์เบรเมิน ได้จัดขึ้นที่ โวห์นินเวิสต์ เวเซอร์ชตาดิโอน ในเบรเมน แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าของ อัตลาส เด็ลเมินฮอร์สท์.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ แฮร์มันน์-นอยแบร์เกอร์-ชตาดิอ็อน ใน ฟ็อล์กลินเกิน เนื่องจากการสร้างใหม่ของ ลุดวิกสพาร์กชตาดิอ็อน ใน ซาร์บรึคเคิน.
  9. แมตช์ระหว่าง เฟาเอ็ฟเบ ไอช์ชตัทท์ พบ แฮร์ทา เบเอ็สเซ ได้จัดขึ้นที่ เอาดี ชปอร์ตพาร์ก ใน อิงก็อลชตัท แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าของ เฟาเอ็ฟเบ ไอช์ชตัดทท์.
  10. 10.0 10.1 10.2 รอบรองชนะเลิศและ รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่น หลังประตูสนามปิด เนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี.

อ้างอิง[แก้]

  1. "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 2 December 2016. สืบค้นเมื่อ 2 December 2016.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender" [DFB executive committee passes framework schedule]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
  3. "Entwurf für RTK 2019–2020" [Draft 2019–20 framework schedule] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
  4. "Künzer lost die erste Pokal-Runde heute aus" [Künzer draws the first cup round today]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
  5. "DFB-Pokal: Cottbus empfängt die Bayern" [DFB-Pokal: Cottbus welcomes Bayern]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
  6. "Kehl lost erste Runde in der ARD aus" [Kehl draws the first round on ARD]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 8 June 2017. สืบค้นเมื่อ 8 June 2017.
  7. "Turid Knaak lost Achtelfinale aus" [Turid Knaak draws round of 16]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 30 October 2019. สืบค้นเมื่อ 30 October 2019.
  8. "BVB gegen Bremen, Bayern gegen TSG" [BVB against Bremen, Bayern against TSG]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 3 November 2019. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  9. "Cacau lost DFB-Pokalviertelfinale aus" [Cacau draws DFB-Pokal quarter-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 5 February 2020.
  10. "Viertelfinale: Schalke empfängt FC Bayern" [Quarter-finals: Schalke hosts FC Bayern]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 9 February 2020. สืบค้นเมื่อ 9 February 2020.
  11. "Almuth Schult lost DFB-Pokalhalbfinale aus" [Almuth Schult draws DFB-Pokal semi-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 March 2020.
  12. "Elferkrimi gegen Düsseldorf: Saarbrücken steht im Pokalhalbfinale" [Penalty thriller against Düsseldorf: Saarbrücken reaches the cup semi-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 March 2020.
  13. "Halbfinale im DFB-Pokal wird verlegt". DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 27 March 2020. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020.
  14. "Re-Start DFB-Pokal, 3. Liga und Frauen-Bundesliga: DFB stellt Hygienekonzept vor" [DFB-Pokal, 3. Liga and Frauen-Bundesliga restart: DFB presents hygiene concept]. kicker (ภาษาเยอรมัน). 8 May 2020. สืบค้นเมื่อ 9 May 2020.
  15. "DFB-Plan: Pokalendspiele am 4. Juli" [DFB plan: Cup final on 4 July]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 11 May 2020. สืบค้นเมื่อ 12 May 2020.
  16. "DFB-Pokal – Torjäger 2019/20" [DFB-Pokal: Goalscorers 2019–20]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker-sportmagazin. สืบค้นเมื่อ 9 August 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]