สตรีในประเทศอัฟกานิสถาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สตรีในประเทศอัฟกานิสถาน
กลุ่มสตรีที่คาบูลใน ค.ศ. 2006
แสตมป์อัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1963 แสดงภาพสตรีอัฟกันสวมชุดพื้นเมือง
สถิติทั่วไป
การตายของมารดา (ต่อ 100,000 คน)460 (2010)
สตรีในรัฐสภา27.6% (2012)
สตรีอายุมากกว่า 25 ปีที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา5.8% (2010)
สตรีในกำลังแรงงาน23% (2019)[1]
ดัชนีความไม่เสมอภาคทางเพศ[2]
ค่า0.655 (2019)
อันดับ157 จาก 162
ดัชนีช่องว่างระหว่างเพศระดับโลก
ค่าNR (2012)
อันดับNR

ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ สิทธิสตรีในประเทศอัฟกานิสถานมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง โดยสตรีได้รับความเท่าเทียมตามรัฐธรรมนูญประจำปี 1964[3] อย่างไรก็ตาม สิทธิเหล่านี้ถูกลิดรอนในคริสต์ทศวรรษ 1990 ผ่านผู้ปกครองชั่วคราวหลายคน เช่นตอลิบานในช่วงสงครามกลางเมือง ซึ่งสตรีแทบไม่มีเสรีภาพใด ๆ โดยเฉพาะเสรีภาพของพลเมือง นับตั้งแต่การถอดถอนรัฐบาลตอลิบานหลังจากวินาศกรรม 11 กันยายนที่สหรัฐ มีการพัฒนาสิทธิของสตรีอย่างมากในสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน[4][5][6][7][8] และสตรีมีสิทธิเท่าเทียมกับผู้ชาย โดยนิตินัย อีกครั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับปี 2004 ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่อิงจากฉบับปี 1964[9] อย่างไรก็ตาม สิทธิของพวกเธอยังคงมีความซับซ้อนจากมุมมองปฏิกิริยาของสตรีในโรงเรียนบางแห่ง โดยเฉพาะในชนบท[10] ซึ่งยังคงสร้างความกังวลในระดับนานาชาติ[11] เมื่อตอลิบานกลับมาควบคุมอัฟกานิสถานอีกครั้งใน ค.ศ. 2021 ความกังวลต่ออนาคตของสตรีในประเทศจึงมีมากขึ้น[12]

ภาพรวม[แก้]

ประเทศอัฟกานิสถานตั้งอยู่ในเอเชียใต้และมีประชากรเกือบ 34 ล้านคน[13] ในจำนวนนี้ 15 ล้านคนเป็นผู้ชาย และ 14.2 ล้านคนเป็นผู้หญิง[14] ประมาณร้อยละ 22 ของชาวอัฟกันอาศัยอยู่ในพื้นที่เมือง และร้อยละ 78 อาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท[15] ตามขนมธรรมเนียมพื้นเมือง ผู้หญิงส่วนใหญ่จะแต่งงานทันทีหลังเรียนจบชั้นระดับมัธยม โดยส่วนใหญ่เป็นแม่บ้านตลอดทั้งชีวิตของเธอ[16]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Labour force participation rate, female".
  2. "Gender Inequality Index" (PDF). HUMAN DEVELOPMENT REPORTS. สืบค้นเมื่อ 4 November 2021.
  3. "An introduction to the constitutional law of Afghanistan" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-05-10. สืบค้นเมื่อ 5 December 2019.
  4. "Afghan forces could turn guns on Kabul without US air support, cash and troops, among other warnings". military times. 29 March 2019. สืบค้นเมื่อ 29 March 2019. Of 320 parliamentary seats, 63 are held by women; 68,000 Afghan women are school and university instructors. And another 6,000 serve as judges, prosecutors, defense attorneys, police and soldiers, according to SIGAR’s report.
  5. "Afghan Girl Wins Reality Show For The First Time". TOLOnews. 2 April 2019. สืบค้นเมื่อ 18 April 2019.
  6. Kabul's American university students defiant despite violence. Al Jazeera English. 16 July 2017. สืบค้นเมื่อ 18 April 2019.
  7. Gender and Women's Studies at Kabul University: A Step Towards Addressing the Gender Gap. UNDP Afghanistan. 11 July 2016. สืบค้นเมื่อ 18 April 2019.
  8. Inside Afghanistan's First Boarding School for Girls. National Geographic. 26 December 2014. สืบค้นเมื่อ 18 April 2019.
  9. Sultan, Masuda (14 January 2004). "Afghan Constitution a Partial Victory for Women". Women's eNews. สืบค้นเมื่อ 5 December 2019.
  10. "Women in Afghanistan - Norwegian Afghanistan Committee". www.afghanistan.no. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-25. สืบค้นเมื่อ 26 August 2019.
  11. Farrah Azeem Khan (5 December 2018). "2018 Survey of Afghan People Shows Women's Rights are Complicated". Asia Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
  12. Yaroslav Trofimov (15 August 2021). "Afghanistan Government Collapses as Taliban Take Kabul". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 16 August 2021.
  13. "Afghanistan". The World Factbook. www.cia.gov. สืบค้นเมื่อ 1 December 2017.
  14. "Afghan Population 29.2 Million | Pajhwok Afghan News". www.pajhwok.com. สืบค้นเมื่อ 12 January 2019.
  15. Mohammad Jawad Sharifzada, บ.ก. (20 November 2011). "Afghanistan's population reaches 26m". Pajhwok Afghan News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 5 December 2011.
  16. "Working with Gender in Rural Afghanistan: Experiences from Norwegian-funded NGO projects" (PDF). www.cmi.no. September 2014. สืบค้นเมื่อ 12 January 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]