ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว20 มกราคม พ.ศ. 2565
(สถิติช้าที่สุด)
ระบบสุดท้ายสลายตัว7 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อบัตซีราย
 • ลมแรงสูงสุด195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด934 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด13 ระบบ
พายุดีเปรสชันทั้งหมด13 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด12 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน5 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง5 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 376 คน
ความเสียหายทั้งหมด312 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2022)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2562–63, 2563–64, 2564–65, 2565–66, 2566–67

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565 เป็นฤดูกาลในอดีตของวัฏจักรรายปีของการก่อตัวพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อน โดยฤดูกาลเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 และไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน 2565 โดยมีข้อยกเว้นสำหรับมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 15 พฤษภาคม 2565 วันที่เหล่านี้เป็นช่วงเวลาตามธรรมเนียมนิยมซึ่งเป็นช่วงจำกัดของแต่ละปี ซึ่งมีพายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนก่อตัวภายในแอ่ง ภายในทางตะวันตกของเส้น 90 °ตะวันออก และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแอ่งนี้จะได้รับการเฝ้าระวังโดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเรอูนียง

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้
  หย่อมความกดอากาศต่ำ/การแปรปรวนของลมในเขตร้อน (≤50 กม./ชม.)   พายุไซโคลน (118–165 กม./ชม.)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน/พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (51–62 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรง (166–212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (63–88 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรงมาก (≥212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)

พายุไซโคลนเวอร์นันกับพายุดีเปรสชัน 08 เกิดปรากฎการณ์ฟูจิวารา

พายุ[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอานา[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 25 มกราคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงบัตซีราย[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 มกราคม – 8 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
934 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.58 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางกลิฟ[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 5 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางดามาโก[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 18 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
993 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.32 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเอ็มนาตี[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 15 กุมภาพันธ์ – 24 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางเฟซีเล[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 (เข้ามาในแอ่ง) – 18 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเวอร์นัน[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 กุมภาพันธ์ (เข้ามาในแอ่ง) – 3 มีนาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08[แก้]

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 กุมภาพันธ์ – 27 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงกอมเบ[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 มีนาคม – 17 มีนาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงฮาลิมา[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 มีนาคม – 1 เมษายน
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
939 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.73 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนอิซซา[แก้]

พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (MFR)
พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 เมษายน – 13 เมษายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงจัสมิน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 21 เมษายน – 27 เมษายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางคาริม[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 พฤษภาคม – 7 พฤษภาคม (ออกจากแอ่ง)
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนและพายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนใดที่ถูกประมาณว่ามีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีที่ 65 กม./ชม. โดยการวัดของศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเกาะลาเรอูนียง ประเทศฝรั่งเศส (RSMC ลาเรอูนียง) พายุลูกดังกล่าวจะได้รับชื่อ อย่างไรก็ตาม ศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสและประเทศมาร์ดากัสการ์จะเป็นผู้กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนแทน โดยศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสจะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนทวีกำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลาง ในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 90 องศาตะวันออก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่กำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลางในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 55 องศาตะวันออก พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากศูนย์ย่อยในประเทศมาร์ดากัสการ์ ตั้งแต่ฤดูกาล 2559–2560 เป็นต้นมา ชุดรายชื่อที่ใช้ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้จะถูกนำมาวนใช้ในทุก ๆ สามปี โดยชื่อพายุจะถูกใช้เพียงครั้งเดียว ดังนั้นชื่อพายุใดที่ถูกนำมาใช้แล้วในฤดูกาลนี้จะถูกถอนออกจากการวนใช้ซ้ำ และจะมีการตั้งชื่อขึ้นมาทดแทนในฤดูกาล 2566–2567 ส่วนชื่อพายุใดที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกนำไปใช้อีกครั้งในฤดูกาล 2566–2567[1]

  • อานา
  • บัตซีราย
  • กลิฟ
  • ดามาโก
  • เอ็มนาตี
  • เฟซีเล
  • กอมเบ
  • ฮาลิมา
  • อิซซา
  • จัสมิน
  • คาริม
  • เลตลามา (ไม่ถูกใช้)
  • มาอีเปโล (ไม่ถูกใช้)
  • นจาซี (ไม่ถูกใช้)
  • โอสการ์ (ไม่ถูกใช้)
  • ปาเมลา (ไม่ถูกใช้)
  • คูเอนติน (ไม่ถูกใช้)
  • ราจาบ (ไม่ถูกใช้)
  • ซาวานา (ไม่ถูกใช้)
  • เตมบา (ไม่ถูกใช้)
  • อูยาโป (ไม่ถูกใช้)
  • วิเวียน (ไม่ถูกใช้)
  • วอลเตอร์ (ไม่ถูกใช้)
  • แซงกี (ไม่ถูกใช้)
  • เยมูราอี (ไม่ถูกใช้)
  • ซาเนเล (ไม่ถูกใช้)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2016). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2016-10-05.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]