ภาษาอตายัล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาอตายัล
Tayal
ภูมิภาคไต้หวันเหนือ
ชาติพันธุ์ชาวอตายัล
จำนวนผู้พูด86,000[1]  (2008)[2]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนละติน
รหัสภาษา
ISO 639-3tay
Linguasphere30-AAA
แผนที่แสดงที่ตั้งของกลุ่มภาษาย่อยหลักสองกลุ่มในภาษาอตายัล ชาวอตายัลอาศัยอยู่ในไต้หวันตอนกลางและตอนเหนือริมเทือกเขา Hsuehshan
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาอตายัล เป็นภาษาของชาวอตายัลในไต้หวัน มีสำเนียงย่อย 32 สำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากคือ ซโควเลก ตโซเล และ มายรีนัก อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน สาขากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ใช้พูดทางภาคเหนือ มีการเขียนด้วยอักษรละตินและจัดพิมพ์พจนานุกรมและไวยากรณ์ภาษาอตายัลเมื่อ พ.ศ. 2545

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Amis Remains Taiwan's Biggest Aboriginal Tribe at 37.1% of Total". Focus Taiwan (ภาษาอังกฤษ). CNA. February 15, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-16. สืบค้นเมื่อ 2020-06-04.
  2. ภาษาอตายัล ที่ Ethnologue (25th ed., 2022) Closed access

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]