ภาษาตะโอย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาตะโอย
Ta Oi
ประเทศที่มีการพูดประเทศลาว, ประเทศเวียดนาม
ชาติพันธุ์ชาวตะโอย, ชาวกะตาง
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (220,000 อ้างถึง1995–2005)[1]
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3มีหลากหลาย:
tth – Upper Ta'Oi
irr – Ir (Hantong)
oog – Ong (= Ir)
tto – Lower Ta'Oi
ngt – Ngeq (Kriang)

ภาษาตะโอยอยู่ในภาษากลุ่มกะตู มีผู้พูดในเวียดนาม แขวงสาละวันและแขวงเซกอง ประเทศลาว เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์และลักษณะน้ำเสียง เป็นภาษาในกลุ่มกะตูที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากภาษากะตูโบราณมากกว่าภาษาอื่น พยัญชนะต้นมี 19 เสียง มีเสียงควบกล้ำที่เกิดจากพยัญชนะ 2 เสียง เช่น /pr-/, /mp-/ และ 3 เสียง เช่น /mpr/ ตัวสะกดมี 13 เสียง สระมี 20 เสียง มีสำเนียงย่อย 2 สำเนียงคือภาษาตะโอยบนและภาษาตะโอยล่าง

อ้างอิง[แก้]

  1. Upper Ta'Oi ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Ir (Hantong) ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Ong (= Ir) ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Lower Ta'Oi ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Ngeq (Kriang) ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Sidwell, Paul (2005). The Katuic languages: classification, reconstruction and comparative lexicon เก็บถาวร 2020-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. LINCOM studies in Asian linguistics, 58. Muenchen: Lincom Europa. ISBN 3-89586-802-7
  • Trần Nguyễn Khánh Phong. 2013. Người Tà Ôi ở A Lưới. Hà Nội: Nhà xuất bản văn hóa thông tin.
  • Miller, Carolyn (2017). "Notes on Northern Katang Kinship and Society". Journal of the Southeast Asian Linguistics Society. 10 (2): xxiii–xxix. hdl:10524/52410.
  • Gehrmann, Ryan. 2017. The Historical Phonology of Kriang, A Katuic Language. JSEALS Volume 10.1 (2017).
  • ธีระพันธ์ ล.ทองคำ. ภาษาของนานาชนเผ่าในแขวงเซกอง ลาวใต้: ความรู้พื้นฐานเพื่อการวิจัยและและพัฒนา. กทม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2544.