ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2017
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
เมืองชลบุรี
วันที่10–23 กันยายน 2560[1]
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เกาหลีเหนือ (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศ เกาหลีใต้
อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น
อันดับที่ 4 จีน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู69 (4.31 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม6,276 (392 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเกาหลีเหนือ Kim Kyong-yong (9 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเกาหลีเหนือ Kim Kyong-yong
รางวัลแฟร์เพลย์ ญี่ปุ่น
2015
2019
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2017 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี ครั้งที่ 7 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เยาวชนระดับนานาชาติที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติหญิงชุดอายุไม่เกิน 16 ปี ของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ประเทศไทยในเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 โดยมีทั้งหมดแปดทีมเข้าร่วมแข่งขันในทัวร์นาเมนต์นี้

เช่นเดียวกันกับการแข่งขันครั้งก่อนหน้านี้ การแข่งขันจะได้ทำหน้าที่ในรอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลกเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี ในภูมิภาคเอเชีย

รอบคัดเลือก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกจะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016)[2] สี่ทีมได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบโดยตรงสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้ายโดยพิจารณาจากผลงานในปี 2558 ในขณะที่ทีมที่เข้าแข่งขันทีมอื่น ๆ ต้องผ่านการคัดเลือกสำหรับสี่ทีมที่เหลือ รอบคัดเลือกมีขึ้นตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ถึง 4 กันยายน พ.ศ. 2559.

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

แปดทีมด้านล่างนี้ได้ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบสุดท้าย

ทีม ในฐานะ จำนวนครั้งที่ลงสนาม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 เกาหลีเหนือ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2015 ชนะเลิศ ครั้งที่ 6 ชนะเลิศ (2007, 2015)
 ญี่ปุ่น ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2015 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 7 ชนะเลิศ (2005, 2011, 2013)
 จีน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2015 อันดับที่สาม ครั้งที่ 7 รองชนะเลิศ (2005)
 ไทย ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2015 อันดับที่สี่ / เจ้าภาพ ครั้งที่ 7 อันดับที่สาม (2005)
 ลาว รอบคัดเลือก กลุ่ม A รองชนะเลิศ ครั้งแรก
 เกาหลีใต้ รอบคัดเลือก กลุ่ม B ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 ชนะเลิศ (2009)
 บังกลาเทศ รอบคัดเลือก กลุ่ม C ชนะเลิศ ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2005)
 ออสเตรเลีย รอบคัดเลือก กลุ่ม D ชนะเลิศ ครั้งที่ 5 อันดับที่สี่ (2009)

รายชื่อผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  จีน 3 2 1 0 15 3 +12 7 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีใต้ 3 2 1 0 12 2 +10 7
3  ไทย (H) 3 1 0 2 4 9 −5 3
4  ลาว 3 0 0 3 0 17 −17 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏกติการอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.

ลาว 0–7 จีน
รายงาน Han Huimin Goal 3'
Li Yinghua Goal 30'
Jin Jing Goal 45+1'
Tang Han Goal 57'
Zhang Linyan Goal 62'78'
Wang Yumeng Goal 89'
ผู้ชม: 65 คน
ผู้ตัดสิน: Seinn Cho Aung (เมียนมาร์)

ไทย 1–6 จีน
พลอยชมพู Goal 49' รายงาน Ou Yiyao Goal 6'
วรารัตน์ Goal 30' (เข้าประตูตัวเอง)
Yang Qian Goal 36'
Tang Han Goal 56'69'
Zhang Linyan Goal 57'

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 10 1 +9 9 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีเหนือ 3 2 0 1 17 2 +15 6
3  ออสเตรเลีย 3 1 0 2 3 14 −11 3
4  บังกลาเทศ 3 0 0 3 2 15 −13 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏกติการอบแบ่งกลุ่ม


รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
20 กันยายน – ชลบุรี
 
 
 จีน0
 
23 กันยายน – ชลบุรี
 
 เกาหลีเหนือ1
 
 เกาหลีเหนือ2
 
20 กันยายน – ชลบุรี
 
 เกาหลีใต้0
 
 ญี่ปุ่น1 (2)
 
 
 เกาหลีใต้ (ลูกโทษ)1 (4)
 
รอบชิงอันดับที่สาม
 
 
23 กันยายน – ชลบุรี
 
 
 จีน0
 
 
 ญี่ปุ่น1

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปเล่นสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี 2018.


นัดชิงอันดับที่สาม[แก้]

ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าไปเล่น ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี 2018.

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี[แก้]

ด้านล่างนี้คือสามทีมที่มาจากการคัดเลือกโซนเอเชียสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี 2018.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามในทัวร์นาเมนต์ครั้งที่ผ่านมา1
 เกาหลีเหนือ 20 กันยายน 2560 5 (2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
 เกาหลีใต้ 20 กันยายน 2560 2 (2008, 2010)
 ญี่ปุ่น 23 กันยายน 2560 5 (2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
1 ตัวหนา สื่อถึงทีมแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง สื่อถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

รางวัล[แก้]

รางวัลด้านล่างนี้จะมอบให้หลังสิ้นสุดการแข่งขัน.[3]

ผู้เล่นทรงคุณค่า ดาวซัลโว รางวัลทีมแฟร์เพลย์
เกาหลีเหนือ คิม คยง-ยง เกาหลีเหนือ คิม คยง-ยง  ญี่ปุ่น

ผู้ทำประตู[แก้]

9 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
แหล่งที่มา: the-afc.com

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "AFC U-16 Championship draw concluded in Kuala Lumpur". the AFC. 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2016. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. "Shooting star Kim Kyong-yong claims MVP and Top Scorer Double". AFC. 23 กันยายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]