ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
ก่อตั้ง2004
ภูมิภาคเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
จำนวนทีม8 (รอบสุดท้าย)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติไทย ไทย
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติไทย ไทย
(4 สมัย)
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022

อาเซียนฟุตบอลหญิงแชมเปียนชิพ หรือ ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (AFF Women's Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระหว่างประเทศในเขตอาเชียน จัดโดย เอเอฟเอฟ (สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน)

ผลการแข่งขัน[แก้]

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2004
รายละเอียด
 เวียดนาม
พม่า
2–2
(ต่อเวลา)
(4–2) ลูกโทษ

เวียดนาม บี

เวียดนาม
4–1
อินโดนีเซีย
2006
รายละเอียด
 เวียดนาม
เวียดนาม
โดยตารางคะแนน
จีนไทเป

ไทย
โดยตารางคะแนน
พม่า
2007
รายละเอียด
 พม่า
พม่า
1–1
(ต่อเวลา)
(4–1) ลูกโทษ

ไทย

เวียดนาม
6–0
มาเลเซีย
2008
รายละเอียด
 เวียดนาม
ออสเตรเลีย
1–0
เวียดนาม

ไทย
3–0
พม่า
2011
รายละเอียด
 ลาว
ไทย
3–0
พม่า

เวียดนาม
6–0
ลาว
2012
รายละเอียด
 เวียดนาม
เวียดนาม
0–0
(ต่อเวลา)
(4–3) ลูกโทษ

พม่า

ไทย
14–1
ลาว
2013
รายละเอียด
 พม่า ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1–1
(ต่อเวลา)
(5–3) ลูกโทษ
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เวียดนาม
3–1
พม่า
2015
รายละเอียด
 เวียดนาม
ไทย
3–2
พม่า

ออสเตรเลีย ยู20
4–3
เวียดนาม
2016
รายละเอียด
 พม่า
ไทย
1–1
(ต่อเวลา)
(6-5) ลูกโทษ

เวียดนาม

พม่า
1-0
ออสเตรเลีย ยู20
2018
รายละเอียด
 อินโดนีเซีย
ไทย
3 - 2
ออสเตรเลีย ยู20

เวียดนาม
3 - 0
พม่า
2019
รายละเอียด
 ไทย
เวียดนาม
1–0
(ต่อเวลา)

ไทย

พม่า
3–0
ฟิลิปปินส์
2022
รายละเอียด
 ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์
3–0
ไทย

พม่า
4–3
เวียดนาม

อาเซียนฟุตบอลหญิง ยู19 แชมเปียนชิพ[แก้]

ปี 2014 ได้จัดขึ้นในชื่อการแข่งขันอายุไม่เกิน 19 ปี.[1] ซึ่งครั้งนั้นไทยชนะเหนือเวียดนามในการดวลลูกโทษตัดสิน.[2]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2014
รายละเอียด
 ไทย
ไทย
0–0
(5–3) ลูกโทษ

เวียดนาม

พม่า
5–0
สิงคโปร์

อาเซียนฟุตบอลหญิง ยู16 แชมเปียนชิพ[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2009
รายละเอียด
 พม่า
ออสเตรเลีย
8–0
ไทย

เวียดนาม
3–0
พม่า A
2017
รายละเอียด
 ลาว
ไทย
6–2
ฟิลิปปินส์

พม่า
3–1
กัมพูชา
2018
รายละเอียด
 อินโดนีเซีย
ไทย
1–0
พม่า

เวียดนาม
0–0
(3–0) ลูกโทษ

ลาว
2019
รายละเอียด
 ไทย
ไทย
0–0
(5–3) ลูกโทษ

ลาว

เวียดนาม
1–0
ฟิลิปปินส์

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

อาเซียนฟุตบอลหญิงแชมเปียนชิพ[แก้]

ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
ธงชาติไทย ไทย 4 (2011, 2015, 2016,2018,) 2 (2007,2019 ) 3 (2006, 2008, 2012) -
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม / เวียดนาม บี 3 (2006, 2012, 2019) 3 (2004, 2008, 2016) 5 (2004, 2007, 2011, 2013, 2018) 1 (2015)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 2 (2004, 2007) 3 (2011, 2012, 2015) 2 (2016, 2019) 4 (2006, 2008, 2013, 2018)
 Australia U20 1 (2008) 2 (2013, 2018) 1 (2015) -
 Japan U23 1 (2013) - - -
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป - 1 (2006) - -
ธงชาติลาว ลาว - - - 2 (2011, 2012)
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย - - - 1 (2004)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย - - - 1 (2007)
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 1 (2019)

อาเซียนฟุตบอลหญิง ยู19 แชมเปียนชิพ[แก้]

ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
ธงชาติไทย ไทย 1 (2014) - - -
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม - 1 (2014) - -
ธงชาติประเทศพม่า พม่า - - 1 (2014) -
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ - - - 1 (2014)

อาเซียนฟุตบอลหญิง ยู16 แชมเปียนชิพ[แก้]

ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
ธงชาติไทย ไทย 3 (2017, 2018, 2019) 1 (2009) - -
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 (2009) - - -
ธงชาติประเทศพม่า พม่า - 1 (2018) 1 (2017) 1 (2009)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม - - 3 (2009, 2018, 2019) -
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ - 1 (2017) - 1 (2019)
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา - - - 1 (2017)
ธงชาติลาว ลาว - 1 (2019) - 1 (2018)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]