ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป
โล้โก้ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป
ก่อตั้ง1996
ภูมิภาคยุโรป (ยูฟ่า)
จำนวนทีม46 (รอบคัดเลือก)
12 (รอบสุดท้าย)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส (1st title)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติสเปน สเปน (7 titles)
ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป 2018

ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป (อังกฤษ: UEFA Futsal Championship) หรือ ยูฟ่า ฟุตซอลแชมป์เปี้ยนชิพเป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรปประเภททีมชาติ โดยแข่งกัน 12 ทีมชาติ 4 กลุ่ม และเป็นการแข่งแพ้คัดออก

การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่ประเทศสเปนในปี 1996 ซึ่งในขณะนั้นมีทีมเข้าแข่งขันเพีบง 6ทีม และเพิ่มมาเป็น 8ทีมในปี1999 และเพิ่มเป็น 12ทีมในปี2010และมีการคาดการณ์ว่าหลังจากการแข่งขันในปี 2018 จะเพิ่มเป็น16 ทีมและจะเปลี่ยนเป็นการจัด4ปีครั้งซึ่งจะเริ่มครั้งแรกในปี 2022 เนื่องจากในปี 2020จะไม่มีการแข่งขันเพราะมีการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2020 [1]

ผลการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน อันดับ 2 อันดับ 3 ผลการแข่งขัน อันดับ 4
1996
รายละเอียด
สเปน
สเปน
สเปน
สเปน
5–3 รัสเซีย
รัสเซีย
เบลเยียม
เบลเยียม
3–2
(ต่อเวลา)
อิตาลี
อิตาลี
1999
รายละเอียด
สเปน
สเปน
รัสเซีย
รัสเซีย
3–3
(ต่อเวลา)
4–2 แม่แบบ:Pen.
สเปน
สเปน
อิตาลี
อิตาลี
3–0 เนเธอร์แลนด์
เนเธอร์แลนด์
2001
รายละเอียด
รัสเซีย
รัสเซีย
สเปน
สเปน
2–1
(ต่อเวลา)
ยูเครน
ยูเครน
รัสเซีย
รัสเซีย
2–1
(ต่อเวลา)
อิตาลี
อิตาลี
2003
รายละเอียด
อิตาลี
อิตาลี
อิตาลี
อิตาลี
1–0 ยูเครน
ยูเครน
สเปน สเปน และ เช็กเกีย เช็กเกีย
2005
รายละเอียด
เช็กเกีย
เช็กเกีย
สเปน
สเปน
2–1 รัสเซีย
รัสเซีย
อิตาลี
อิตาลี
3–1 ยูเครน
ยูเครน
2007
รายละเอียด
โปรตุเกส
โปรตุเกส
สเปน
สเปน
3–1 อิตาลี
อิตาลี
รัสเซีย
รัสเซีย
3–2 โปรตุเกส
โปรตุเกส
2010
รายละเอียด
ฮังการี
ฮังการี
สเปน
สเปน
4–2 โปรตุเกส
โปรตุเกส
เช็กเกีย
เช็กเกีย
5–3 อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
2012
รายละเอียด
โครเอเชีย
โครเอเชีย
สเปน
สเปน
3–1
(ต่อเวลา)
รัสเซีย
รัสเซีย
อิตาลี
อิตาลี
3–1 โครเอเชีย
โครเอเชีย
2014
รายละเอียด
เบลเยียม
เบลเยียม
อิตาลี
อิตาลี
3–1 รัสเซีย
รัสเซีย
สเปน
สเปน
8–4 โปรตุเกส
โปรตุเกส
2016
รายละเอียด
เซอร์เบีย
เซอร์เบีย
สเปน
สเปน
7–3 รัสเซีย
รัสเซีย
คาซัคสถาน
คาซัคสถาน
5–2 เซอร์เบีย
เซอร์เบีย
2018
รายละเอียด
สโลวีเนีย
สโลวีเนีย
โปรตุเกส
โปรตุเกส
3-2
(ต่อเวลา)
สเปน
สเปน
รัสเซีย
รัสเซีย
1-0 คาซัคสถาน
คาซัคสถาน
2022
รายละเอียด
TBA

ผลการแข่งขัน แบ่งตาม ประเทศ[แก้]

ทีม ชนะเลิศ อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
ธงชาติสเปน สเปน 7 (1996*, 2001, 2005, 2007, 2010, 2012, 2016) 1 (1999*) 2 (2003, 2014)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 2 (2003*, 2014) 1 (2007) 3 (1999, 2005, 2012) 2 (1996, 2001)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 1 (1999) 5 (1996, 2005, 2012, 2014, 2016) 2 (2001*, 2007)
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 1 (2018) 1 (2010) 2 (2007*, 2014)
ธงชาติยูเครน ยูเครน 2 (2001, 2003) 1 (2005)
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย 2 (2003, 2010)
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 1 (1996)
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 1 (2016)
ธงชาติอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 1 (2010)
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 1 (2012*)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 (1999)
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย 1 (2016*)
* = เจ้าภาพ

อ้างอิง[แก้]

  1. "UEFA to revamp and expand futsal competitions". UEFA.com. 4 April 2017.