ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015
2015 Deaf Futsal World Cup
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่20 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ทีม22
สถานที่3
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
จำนวนประตู349 (6.71 ประตูต่อนัด)
2011
2019

การแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015 (อังกฤษ: 2015 Deaf Futsal World Cup) นับเป็นการแข่งขันฟุตซอลของคนหูหนวกชิงแชมป์โลกครั้งที่ 4 ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 20 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย[แก้]

ทีมเจ้าภาพ[แก้]

ฟุตซอลทีมชาติไทย ในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ได้ผ่านเข้ารอบอัตโนมัติ

สถานที่แข่งขัน[แก้]

ต่อไปนี้เป็นสนามกีฬาในร่มที่ใช้ในการแข่งขัน[1]

สนาม อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก อาคารกีฬานิมิบุตร กรีฑาสถานแห่งชาติ อาคารกีฬาเวสน์ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
ภาพ 200px
เขต เขตบางกะปิ เขตปทุมวัน เขตดินแดง
ความจุ 6,000 5,600 5,000

ผู้ตัดสิน[แก้]

การแสดงในพิธีเปิด-ปิด[แก้]

พิธีเปิด[แก้]

พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีเปิดการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2558 ที่อาคารกีฬานิมิบุตร สนามกีฬาแห่งชาติ เมี่อวันที่ 19 พฤศจิกายน โดยมีนางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, นายสกล วรรณพงษ์ ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย(กกท.) ร่วมด้วย ส่วนนักกีฬาที่ทำหน้าที่จุดคบเพลิงได้แก่ อโณทัย สาธิยมาส กัปตันทีมฟุตซอลคนหูหนวกทีมชาติไทยจอมเก๋าวัย 39 ปี

ชุดที่ ชื่อการแสดงในพิธีเปิด เวลา
1 สยามเมืองยิ้ม (Thailand Land of Smile) นาที
พิธีการ ฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก นาที
2 กีฬาสร้างแรงบันดาลใจ จุดไฟฝัน (The sports to inspire) นาที
3 ไทยแลนด์ ดินแดนมหัศจรรย์ (Thailand Wonders Land) นาที
รวมเวลาการแสดง ชั่วโมง นาที

พิธีเปิด[แก้]

การจับสลากแบ่งสาย[แก้]

ทั้ง 16 ทีม ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย แบ่งเป็น 4 กลุ่มกลุ่มละ 4 ทีม ได้มีการจับสลากแบ่งสายขึ้น เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558 ที่ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน โดยการแข่งขัน ผู้ที่ได้อันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบก่อนรองชนะเลิศ[2] ทั้งนี้ ก่อนการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 จากเดิมทั้งประเภททีมชายและทีมหญิง มีทีมส่งเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 22 ประเทศ 32 ทีม แต่ปรากฏว่า ประเภททีมชาย จากเดิม มี 16 ทีม ได้มีประเทศแจ้งขอถอนตัว 5 ทีมได้แก่ ยูเครน สวีเดน เบลเยียม ตุรกี และ เวเนซุเอลา ทำให้เหลือทีมเข้าร่วมการแข่งขันเพียง 11 ทีมเท่านั้น จึงต้องมีการจับสลากแบ่งสายการแข่งขันใหม่ แบ่งออกเป็น 2 สาย[3]

ทีมหญิง[แก้]

โหลที่ 1 (ทีมวาง) โหลที่ 2 (ยูฟ่า) โหลที่ 3 (AFC, CONMEBOL)

ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ

ธงชาติสเปน สเปน
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม (ถอนตัว)
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติตุรกี ตุรกี (ถอนตัว)
ธงชาติฮังการี ฮังการี (ถอนตัว)

ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติจีน จีน

ทีมชาย[แก้]

  • การจัดลำดับทีมวาง ครั้งที่ 1
โหลที่ 1 (ทีมวาง) โหลที่ 2 (ยูฟ่า) โหลที่ 3 (AFC และ CAF) โหลที่ 4 (CONMEBOL)

ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติยูเครน ยูเครน (ถอนตัว)
ธงชาติตุรกี ตุรกี (ถอนตัว)

ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม (ถอนตัว)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์

ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย

ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา (ถอนตัว)

  • การจัดลำดับทีมวาง ครั้งที่ 2
โหลที่ 1 (ทีมวาง) โหลที่ 2 (AFC) โหลที่ 3 (CONMEBOL และ CAF) โหลที่ 4 (ยูฟ่า)

ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน

ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย

ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ทำการแข่งขันแบบพบกันหมดภายในกลุ่ม คัดเอาอันดับ 1 และ 2 เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศของทีมหญิง และ รอบรองชนะเลิศของทีมชายต่อไป

ทีมหญิง[แก้]

กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D

ธงชาติไทย ไทย
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาติจีน จีน

ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติสเปน สเปน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติบราซิล บราซิล

ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน

กลุ่มเอ[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 3 2 1 0 34 7 27 7
ธงชาติไทย ไทย 3 2 0 1 17 12 5 6
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 1 1 1 35 9 26 4
ธงชาติจีน จีน 3 0 0 3 1 59 -58 0
20 พฤศจิกายน 2558 อิตาลี ธงชาติอิตาลี23 - 1ธงชาติจีน จีนเขตดินแดง
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 สวีเดน ธงชาติสวีเดน28 - 0ธงชาติจีน จีนเขตดินแดง
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 สวีเดน ธงชาติสวีเดน3 - 3ธงชาติอิตาลี อิตาลีเขตดินแดง
13:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

กลุ่มบี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 2 2 0 0 8 2 6 6
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2 1 0 1 4 6 -2 3
ธงชาติสเปน สเปน 2 0 0 2 5 9 -4 0
20 พฤศจิกายน 2558 รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย3 - 0ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเขตดินแดง
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย5 - 2ธงชาติสเปน สเปนเขตดินแดง
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น4 - 3ธงชาติสเปน สเปนเขตบางกะปิ
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

กลุ่มซี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติบราซิล บราซิล 2 2 0 0 14 3 11 6
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 2 1 0 1 7 7 0 6
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 2 0 0 2 2 13 -11 0
20 พฤศจิกายน 2558 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี2 - 6ธงชาติบราซิล บราซิลเขตบางกะปิ
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี5 - 1ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์เขตปทุมวัน
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 บราซิล ธงชาติบราซิล8 - 1ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์เขตดินแดง
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

กลุ่มดี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 2 1 0 1 6 3 3 3
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2 1 0 1 8 8 0 3
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 2 1 0 1 6 9 -3 3
20 พฤศจิกายน 2558 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ5 - 0ธงชาติอิหร่าน อิหร่านเขตดินแดง
13:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ1 - 3ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์กเขตปทุมวัน
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน8 - 3ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์กเขตดินแดง
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

ทีมชาย[แก้]

กลุ่ม A กลุ่ม B

ธงชาติไทย ไทย
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติบราซิล บราซิล

ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์

กลุ่มเอ[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติไทย ไทย 4 2 2 0 27 12 15 8
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 4 2 2 0 16 5 11 8
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 4 2 2 0 21 12 9 8
ธงชาติบราซิล บราซิล 4 1 0 3 6 20 -14 3
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 4 0 0 4 10 31 -21 0
20 พฤศจิกายน 2558 ไทย ธงชาติไทย6 - 6ธงชาติอิตาลี อิตาลีเขตปทุมวัน
12:00 อโณทัย สาธิยมาส Goal 15'33'
นเรศ นุ่มภักดี Goal 25'35'40' (1pen.)
อนุพงษ์ ภูมิลา Goal 37'
[ รายงาน] ดิโน่ สกาลิโอเน่ Goal 15'
อโณทัย สาธิยมาส Goal 26' (สกัดพลาดเข้าประตูตัวเอง)
อิตาโล ลุคเชส Goal 32'37'
ดาวิเด้ กริปโป้ Goal 32'
ซัลวาทอเร่ เทราโนว่า Goal 38' (1pen.)
สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์5 - 1ธงชาติบราซิล บราซิลเขตปทุมวัน
14:00 [[]] Goal
[[]] Goal
[[]] Goal
[ รายงาน] [[]] Goal
[[]] Goal
[[]] Goal
สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 บราซิล ธงชาติบราซิล4 - 3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถานเขตดินแดง
15:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
24 พฤศจิกายน 2558 อิตาลี ธงชาติอิตาลี6 - 3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถานเขตดินแดง
15:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
25 พฤศจิกายน 2558 บราซิล ธงชาติบราซิล0 - 6ธงชาติอิตาลี อิตาลีเขตดินแดง
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

กลุ่มบี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 4 4 0 1 34 6 28 12
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 4 4 0 1 19 11 8 12
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4 3 1 2 12 16 -4 10
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 4 2 1 2 19 20 -1 7
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 4 1 0 4 12 25 -13 3
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 4 0 0 5 7 25 -18 0
20 พฤศจิกายน 2558 แอลจีเรีย ธงชาติแอลจีเรีย5 - 1ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์เขตดินแดง
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
21 พฤศจิกายน 2558 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน11 - 1ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรียเขตดินแดง
13:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 นอร์เวย์ ธงชาตินอร์เวย์1 - 4ธงชาติรัสเซีย รัสเซียเขตปทุมวัน
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
22 พฤศจิกายน 2558 แอลจีเรีย ธงชาติแอลจีเรีย2 - 3ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเขตดินแดง
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
24 พฤศจิกายน 2558 นอร์เวย์ ธงชาตินอร์เวย์0 - 8ธงชาติอิหร่าน อิหร่านเขตดินแดง
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 2
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
24 พฤศจิกายน 2558 รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย6 - 2ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรียเขตปทุมวัน
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
25 พฤศจิกายน 2558 รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย2 - 1ธงชาติอิหร่าน อิหร่านเขตปทุมวัน
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
25 พฤศจิกายน 2558 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น6 - 4ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์เขตดินแดง
13:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

รอบสุดท้าย[แก้]

ทีมหญิง[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ
                   
24 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬานิมิบุตร        
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  6
26 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬานิมิบุตร
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  4  
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  0
24 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬาเวสน์ 2
   ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  4  
 ธงชาติไทย ไทย  1
28 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬานิมิบุตร
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  7  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  2
24 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬาเวสน์ 1
   ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  3
 ธงชาติบราซิล บราซิล  5
26 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬานิมิบุตร
 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน  3  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  6 ชิงอันดับที่ 3
24 พฤศจิกายน 2558 – อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
   ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0  
 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ  3  ธงชาติอิตาลี อิตาลี  0
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  5    ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  4
27 พฤศจิกายน 2558 – อาคารกีฬานิมิบุตร

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

24 พฤศจิกายน 2558 อิตาลี ธงชาติอิตาลี6 - 4ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเขตปทุมวัน
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: 3,007 คน
ผู้ตัดสิน:
24 พฤศจิกายน 2555 บราซิล ธงชาติบราซิล5 - 3ธงชาติอิหร่าน อิหร่านเขตดินแดง
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
24 พฤศจิกายน 2558 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ3 - 5ธงชาติเยอรมนี เยอรมนีเขตบางกะปิ
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

รอบจัดอันดับ[แก้]

รอบจัดอันดับ 9-12[แก้]
รอบจัดอันดับที่ 11[แก้]
รอบจัดอันดับที่ 9[แก้]
25 พฤศจิกายน 2555 สเปน ธงชาติสเปน5 - 2ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์เขตบางกะปิ
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:
รอบจัดอันดับ 5-8[แก้]
24 พฤศจิกายน 2558 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น6 - 2ธงชาติอิหร่าน อิหร่านเขตปทุมวัน
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: 3,007 คน
ผู้ตัดสิน:
รอบจัดอันดับที่ 7[แก้]
รอบจัดอันดับที่ 5[แก้]
27 พฤศจิกายน 2558 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น3 - 4ธงชาติอังกฤษ อังกฤษเขตดินแดง
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬาเวสน์ 1
ผู้ชมในสนาม: 3,007 คน
ผู้ตัดสิน:

นัดรองชนะเลิศ[แก้]

26 พฤศจิกายน 2558 อิตาลี ธงชาติอิตาลี0 - 4ธงชาติบราซิล บราซิลเขตปทุมวัน
10:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: 3,007 คน
ผู้ตัดสิน:
26 พฤศจิกายน 2558 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย6 - 0เยอรมนี ธงชาติเยอรมนีเขตปทุมวัน
14:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

27 พฤศจิกายน 2558 อิตาลี ธงชาติอิตาลี0 - 4ธงชาติเยอรมนี เยอรมนีเขตปทุมวัน
12:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: 3,007 คน
ผู้ตัดสิน:

นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

28 พฤศจิกายน 2558 ธงชาติบราซิล บราซิล2 - 3รัสเซีย ธงชาติรัสเซียเขตปทุมวัน
11:00 [ รายงาน] สนามกีฬา: อาคารกีฬานิมิบุตร
ผู้ชมในสนาม: คน
ผู้ตัดสิน:

ทีมชาย[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ
26 พฤศจิกายน 2558 - อาคารกีฬานิมิบุตร
 ธงชาติไทย ไทย  3  
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  2  
 
28 พฤศจิกายน 2558 - อาคารกีฬานิมิบุตร
     ธงชาติไทย ไทย  3
   ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน  8
ชิงอันดับสาม
26 พฤศจิกายน 2558 - อาคารกีฬานิมิบุตร 27 พฤศจิกายน 2558 - อาคารกีฬานิมิบุตร
 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน  3  ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  7
 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์  2    ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์  4

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ[แก้]

 ผู้ชนะการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015 (ทีมหญิง) 
ธงชาติรัสเซีย
รัสเซีย
สมัยที่ 2
 ผู้ชนะการแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก 2015 (ทีมชาย) 
ธงชาติอิหร่าน
อิหร่าน
สมัยที่ 1

รางวัล[แก้]

หญิง[แก้]

รองเท้าทองคำ ลูกบอลทองคำ ถุงมือทองคำ รางวัลทีมแฟร์เพลย์
สวีเดน เจนเซ่น มาทิลด้า บราซิล สเตฟานี่ เครป รัสเซีย นาตาเลีย มิคาโลว่า อิตาลี อิตาลี
รองเท้าเงิน รองเท้าทองแดง ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
[[]] [[]] [[]] [[]]

ชาย[แก้]

รองเท้าทองคำ ลูกบอลทองคำ ถุงมือทองคำ รางวัลทีมแฟร์เพลย์
เนเธอร์แลนด์ ชาย เจค็อบ คาสซาลุน ไทย นเรศ นุ่มภักดี ไทย ณัฐวุฒิ ฮะบุญมี สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
รองเท้าเงิน รองเท้าทองแดง ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
[[]] [[]] [[]] [[]]

สถิติ[แก้]

การตลาด[แก้]

สัญลักษณ์[แก้]

โปสเตอร์[แก้]

ตุ๊กตาสัญลักษณ์[แก้]

สิทธิการออกอากาศ[แก้]

คณะกรรมการกีฬาคนหูหนวกสากล จำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ในทั้ง 52 นัดของการแข่งขันครั้งนี้ ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาตามโปรแกรมการแข่งขันดังนี้ 10:00-12:00น., 11:00-13:00 น., 12:00-14:00 น., 13:00-15:00 น. และ 14:00-16:00 น. ให้แก่บริษัท สยามสปอร์ตเทเลวิชั่น จำกัด โดยทำสัญญาให้แพร่ภาพทาง สถานีโทรทัศน์ทีสปอร์ต ของการกีฬาแห่งประเทศไทย ทำการถ่ายทอดสดวันละ 2 คู่ (ชาย และหญิง) ร่วมกับการถ่ายทอดบันทึกการแข่งขันอีก 23 นัดแข่งขัน รวมถึงนัดที่ฟุตซอลคนหูหนวกทีมชาติไทยลงเล่น ส่วนสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ททบ. ทำการถ่ายทอดสดพิธีเปิด และ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 เอ็นบีที สทท. กรมประชาสัมพันธ์ ทำการถ่ายทอดสดพิธีปิดการแข่งขันและคู่ชิงชนะเลิศนั้น อยู่ในระหว่างการประสานงาน ทั้งนี้ในการถ่ายทอดสดทุกนัด จะไม่มีภาพยนตร์โฆษณาคั่นระหว่างการแข่งขัน[4]

เพลงประจำการแข่งขัน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Futsal World Cup to kick off on 1 November". FIFA. 2012-02-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-21. สืบค้นเมื่อ 2012-02-27.
  2. "วางคิวแบ่งสายฟุตซอลคนหูหนวกโลก ร่วมสายอัซซูร์รี ทีมหญิงพบไวกิ้งสวีเดนกับมังกรจีนแดง และ ทีมชายพบอิหร่านกับแซมบ้าบราซิล". สำนักข่าวไทย. 2015-06-24. สืบค้นเมื่อ 2015-06-24.[ลิงก์เสีย]
  3. "จับสลากทีมชายใหม่หลัง5ชาติถอนทีม ร่วมสายดัชต์อัศวินสีส้ม อุซเบกิสถาน อัซซูร์รีอิตาลี และ แซมบ้าบราซิล". การแข่งขันฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4. 2015-11-13. สืบค้นเมื่อ 2015-11-13.[ลิงก์เสีย]
  4. "โต๊ะเล็กจอไม่ดำ 'ทีสปอร์ต' ยิงสดฟุตซอลหูหนวกโลก 'ททบ5-สทท11NBT' จองคิวพิธีเปิด-ปิดการแข่งขันและคู่ชิงชนะเลิศนั้น อยู่ในระหว่างการประสานงานสยามสปอร์ตเทเลวิชั่นจัดให้ 20-28 พ.ย.ฟรีครบทุกนัด". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-30. สืบค้นเมื่อ 2015-11-21.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]