พูดคุย:ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ/กรุ 1

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข่าวความเคลื่อนไหวในการก่อสร้าง และเรื่องเกี่ยวข้องกับคุณณัฐพงษ์ พลบูรณ์ศรี

น่าจะมีหน้าที่รวบรวมข่าวความเคลื่อนไหวในการสร้างสนามบินแห่งนี้ ทั้งเรื่องการออกแบบ เทคนิคความก้าวหน้าด้านวิศวกรรม ความล่าช้า การทุจริต และข่าวต่าง ๆ อย่างตอนนี้ (27 เม.ย. 2548) ประเด็นร้อนก็คือ เรื่องการจัดซื้อเครื่องตรวจจับระเบิด ที่ว่ากันว่าเกินงบไป 2,800 ล้านบาท -- bact' 06:37, 27 เม.ย. 2005 (UTC)

อยากสมัครงาน

อยากทราบว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิดรับสมัครงานทั่วไปหรือเปล่าค่ะ ช่วยตอบด้วยค่ะ

http://bidding.airportthai.co.th/airportnew/bidding/hr/announce.html

เส้นทางการเดินทางจากสนามบินแห่งใหม่

น่าจะมีการแสดงแผนที่การเดินทาง ถนน ทางด่วน หรือ รถไฟฟ้า จากสนามบินแห่งใหม่เข้าสู่ตัวเมืองเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้โดยสาร

แสดงในการเข้าถึงแล้วค่ะ มีแต่ทางรถยนต์ รถไฟฟ้ายังสร้างไม่เสร็จค่ะ --Look-Narm 10:00, 30 กรกฎาคม 2006 (UTC)

No Taxi service at the airport

These kind of things really piss me of, can someone translate it into the Thai article please:

No Taxiservice from the airport

According to the Suvannabhumi Transportation Guidelines [1] taxi's will not be allowed to operate directly from the airport terminal. Only the so-called limousine services will be allowed to. In practice at the current airport of Don Muang these services are 2 to 4 times more expensive than a normal taxi and the car used is usually the same model Toyota. Passengers that want to take a taxi will first have to take a bus to an inland taxi terminal 3 kilometers away.

Waerth 12:10, 15 สิงหาคม 2006 (UTC)

Waerth, I read the Suvannabhumi Transportation Guidelines , 827 limousines have to park at the bus terminal, long term parking, and public taxis area as well. So I tried to summarize it in thai and drew out the transportation and accessibily of the SBIA in the article. I also think that it is one of the mess when SBIA is fully operated in the future, in addition to the lacking of airport rail link line(s). --Look-Narm 13:11, 15 สิงหาคม 2006 (UTC)
Look-Narm in the transport guidelines you can also find that the Limousines have a big parking area at the terminal itself. as opposed to the taxi which has no parking at the terminal. Waerth 11:41, 16 สิงหาคม 2006 (UTC)

Helmut Jahn

ชื่อสกุล Jahn ถ้าเป็นคนเยอรมัน น่าจะอ่านว่า ยาน ... สะกด "ยาห์น" ?

เกิดที่เยอรมัน โตที่อเมริกา อาจจะอ่านตามภาษาอังกฤษครับ --Manop | พูดคุย - 22:48, 26 กันยายน 2006 (UTC)

เนื้อหาไม่ตรงอ้างอิง (แอร์พอร์ตเรลลิงค์)

(Sorry this is in English). In the "ปัญหาการทุจริต" section, under "ปัญหาสัมปทานในการก่อสร้าง และจัดสรรพื้นที่ องค์ประกอบอื่นๆ สัมปทานบริการต่างๆ ภายในสนามบิน เช่น" sub-section, there is the following bullet point: "รถไฟขนส่งจากตัวเมืองมายังสนามบิน (แอร์พอร์ตเรลลิงค์)".

The reference cited is Bangkokpost Newspaper (June 27, 2006) AIRPORT LINK / CRACKS IN RAILWAY SUPPORT COLUMNS. Here is the article text: "Two of 14 problematic concrete support pillars for the Airport Link elevated railway have been ordered demolished and rebuilt after being found sub-standard. Cracks have also been found in some of the beams. Two hundred and twelve pillars have been erected of the 889 needed to carry the 28km elevated railway that will link Suvarnabhumi airport and the inner city.

The Transport Ministry found nine of them had hairline cracks, three columns had bigger cracks which need closer examination and two had air bubbles. The two columns with bubbles, built above the eastern railway tracks and stands near Lat Krabang railway station, must be demolished and rebuilt, caretaker Transport Minister Pongsak Raktapongpaisal said yesterday. Poor curing of the concrete had allowed water in the cement mix to vaporise before the concrete hardened and that caused the air bubbles, he said.

Some beam segments were also found to be cracked because too much tension was applied to steel cables used to assemble segmental beams. Mr Pongsak did not reveal how many. About 2,700 beam segments have been installed of the total 10,875 needed. The cracks in the beams would not have occurred if the contractor had tested the weight-bearing capacity of those segments before installation, he said. The contractor is a consortium of Sino-Thai Engineering and Construction Plc, B Grimm and Siemens. Mr Pongsak said independent engineers reported that hairline cracks no bigger than 0.3mm were acceptable and reparable with expensive carbon fibre. The cracked beam segments would not pose a problem because the weight of the railway structure would be borne by the steel cables inside the segments and modified steel plates can be applied to distribute weight on the beams. Mr Pongsak said the contractor was to blame for having failed to keep to standard construction procedures, but added that the problems could be corrected. The problems would not affect the completion schedule of the railway, in the next two years. The contractor would have to meet the cost of rectifying the problems."

The reference does not claim there is a "ปัญหาการทุจริต". The reference just says there is a quality problem. Quality problem doesn't neccesasrily mean corruption problem. I'm therefore deleting the reference and adding the {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} tag back in. Patiwat 00:10, 14 กันยายน 2006 (UTC)


งั้นอันนี้พอไหวไม๊คะ ท่าน Patiwat, จริงๆ แล้วมีมากกว่านี้อ่ะค่ะ แต่ดูๆไปเหมือนว่ามันจะรุงรัง 1 บรรทัดมี 5 ref อะไรงี้ ^_^ แหะๆ ด้วยความเคารพเห็นด้วยค่ะว่าบทความข้างต้นไม่ค่อยจะส่อทุจริตชัดเจน แต่ก็เป็นเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างโจ่งครึ่มในไทย จน สตง.ต้องไปตรวจสอบ การที่ สตง.ไปตรวจสอบและทำหนังสือสอบถามไว้ ก็นับเป็นการมีข้อวิพากษ์ถึงความไม่สุจริตแล้ว ไม่ใช่หรือท่าน --Look-Narm 01:38, 14 กันยายน 2006 (UTC)

Bangkokpost 20th March, 2006 Rail told to explain B2bn spending

TUL PINKAEW

The State Railway of Thailand (SRT) has been given 60 days by the Office of the Auditor-General (OAG) to answer an initial inquiry over the "irregular" spending of nearly two billion baht involving the construction of an express railway link to Suvarnabhumi airport.


The OAG sent a letter to the SRT last week requesting it to explain the unusual service fee payments worth 1.6 billion baht to its contractors at the beginning of last year, and also the disappearance of part of the wage payments worth more than 300 million baht.


The Airport Rail Link is a 30-billion-baht project to facilitate travel from Bangkok to Suvarnabhumi airport.


The system involves the building of an elevated train system at a cost of 25.9 billion baht and another 4.1 billion baht for building a station and a rail tunnel below the passenger terminal.


Starting from Phayathai and ending at Suvarnbhumi airport, the rail link will be 28km long and have eight stations. Its construction is expected to be completed in two years.


Cabinet in 2004 under the recommendation of then Transport Minister Suriya Jungrungreangkit approved a "pay later" approach for the project, one not normally practised in government procurement spending.


Under the arrangement, four banks will make the payment to the construction firms for every stage of the project they complete on behalf of the SRT, with the government guaranteeing the banks that they would get their money back later. As the risk factor for the construction companies was higher than usual, resulting in higher service fees, the contract allows up to 1.6 billion baht in service fee for these firms when the construction is finished.


However, according to the OAG report the service fee was paid in full to the likes of B Grimm Engineering, German rail supplier Siemens, Italian-Thai Development and Power Line Engineering on Jan 25, 2005 only five days after the contract was signed. "The contract says the service fee will be paid after the work is done because the full 1.6 billion might not be spent if the total cost does not reach the 25.9 billion baht limit," said an OAG source.


The other irregularity was found in the advance wage payment order with two receipts giving different numbers.


"The SRT has 60 days to come up with answers after which the OAG plans to launch a formal investigation," said the source.

Innocent until proven guilty?

อ่านโดยรวมแล้วแล้วก็เห็นว่าถูกต้องที่มีการกล่าวหาว่ามีการทุจริต ถูกต้องที่สตง.มีการตรวจสอบอยู่ แต่สิ่งที่แหล่งอ้างอิงไม่ได้ระบุคือว่า มีการทุจริตจริง ตราบใดที่มีการพิสูจน์ว่ามีการทุจริตจริง หรือมีมติของศาลว่ามีการทุจริตจริง ผมรู้สึกไม่ค่อยสบายใจ กับหัวข้อที่เขียนว่า "ปัญหาทุจริต" บ้านเมืองมีหลักการว่า Innocent until proven guilty และการระบุว่า มีการทุจริตเกิดขึ้น โดยยังไม่ได้มีการพิสูจน์ออกมา มันกระทบชื่อเสียงของคนมีชีวิต ผิดนโยบายวิกิพีเดีย

เปลี่ยนเป็นอย่างนี้ดีมั้ย:

การกล่าวหาและการตรวจสอบเรื่องการทุจริต

  • ในรัฐบาลชวนสอง นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในขณะนั้น ได้มีการจัดประมูลการก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบิน ในราคา 54,000 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคากลาง แต่ก่อนที่จะมีการเซ็นสัญญาก่อสร้าง รัฐบาลได้ยุบสภาเสียก่อน เมื่อมีการเลือกตั้งใหม่และพรรคไทยรักไทยได้เสียงข้างมากเบ็ดเสร็จในสภา พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี 9 พ.ย. 2544 [6]ได้ให้มีการประมูลการก่อสร้างใหม่ และสามารถประหยัดงบประมาณแผ่นดินไปได้กว่าสองหมื่นล้านบาท โดยใช้วิธีการลดคุณสมบัติ (specification)ของวัสดุก่อสร้างและวัสดุตกแต่ง รวมทั้งลดขนาดอาคารและพื้นที่ตกแต่งภูมิทัศน์ในหลายๆ จุด [7] ย่อหน้านี้เขียนดีมาก เป็น fact หมด
  • พ.ศ. 2548 ในรัฐบาลทักษิณหนึ่ง มีการกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมน่าสงสัยในการจัดซื้อและติดตั้งระบบตรวจวัตถุระเบิดในสัมภาระ โดยที่ สเป็ก ของเครื่องรุ่น CTX 9000 อาจจะถูกล็อก เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทผู้รับเหมา (บริษัทแพทริออต มีนายวรพจน์ ยศะทัศน์ หรือ เสี่ยเช เป็นผู้บริหาร) และบริษัทผู้ผลิต (บริษัทอินวิชั่น สหรัฐอเมริกา) เหตุการณ์นี้นำไปสู่การอภิปรายไม่ไว้วางใจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ ในวันที่ 28 มิ.ย. 2548 แต่ในวันที่ 29 มิ.ย. 2548 สภาผู้แทนราษฎรลงมติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่อไป (ตามเสียงข้างมาก ซึ่งรัฐบาลมีอยู่เกินกึ่งหนึ่งของสภา) อย่างไรก็ตาม ในความเห็นของบางฝ่าย นายสุริยะ ไม่สามารถแก้ข้อกล่าวหาทั้งหมดได้ในสภา ปัจจุบันเครื่องตรวจวัตถุระเบิด CTX ทั้ง 26 เครื่องได้ถูกติดตั้งเรียบร้อยและอยู่ระหว่างการทดสอบ [8][9]
  • ปัญหาสัมปทานในการก่อสร้าง และจัดสรรพื้นที่ องค์ประกอบอื่นๆ สัมปทานบริการต่างๆ ภายในสนามบิน [10]เช่น
  • มี.ค. 2549 สตง.ได้ทำหนังสือถึง รฟท. เพื่อขอความชี้แจงเรื่องที่ มีการจ่ายค่าบริการ 1600ล้านบาท ให้กับ บริษัทรับเหมาสร้างรถไฟขนส่งจากตัวเมืองมายังสนามบิน (แอร์พอร์ตเรลลิงค์) เพียง 5วันหลังจากมีการเซ็นสัญญา แทนที่จะมีการจ่ายหลังจการที่โครงการสร้างเสร็จ สตง.ได้สั่งให้ รฟท. ชี้แจงภายใน 60วัน[11]
  • ก.ค. 2549 นายอลงกรณ์ พลบุตร ส.ส.เพชรบุรี รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แถลงว่า ตนจะแจ้งความกล่าวโทษต่อ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เพื่อให้ดำเนินคดีกับบุคคล 6 คน (รวมถึงคนใกล้ชิดของนายกรัฐมนตร) ที่เกี่ยวข้องกับการเรียกรับสินบน 300 ล้านบาท จากบริษัทลัทธ์ เฟอร์ ไทย จำกัด ในโครงการก่อสร้างอาคารจอดรถ (คาร์ปาร์ค) และสัมปทานเก็บผลประโยชน์ 25 ปี
  • เรื่องคิงพาวเวอร์ แหล่งอ้างอิงไม่มีการกล่าวถึงการทุจริตเลย
  • ก.ค. 2549 นายอลงกรณ์ พลบุตร ได้ตั้งข้อสังเกตในการประมูล รถเข็นสัมภาระในสนามบิน และ การจัดหาบริษัทจำหน่ายไฟฟ้าสำหรับระบบเครื่องปรับอากาศให้กับเครื่องบินที่ลานจอด [14]
  • ก.ค. 2549 นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ได้ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับ บริษัทไทยแอร์พอร์ตกราวน์เซอร์วิส (แทคส์, TAGS) (บริษัทที่ได้รับสัมปทาน บริหารเขตปลอดอากร และศูนย์โลจิสติกส์ในสนามบิน) ว่าุ มีบริษัทในสิงคโปร์ถือหุ้นอย่างไม่ปรกติ และไม่มีการประกาศประมูลอย่างที่ควรเป็น [15]
  • ส.ค. 2549 นายอลงกรณ์ พลบุตร ได้อ้่า่งว่าตนเองมี บันทึกข้อตกลงลับระหว่างคณะผู้บริหาร ทอท. กับบริษัทแทคส์ ซึ่งระบุว่ามีการแก้ไขสเปครถเข็นเอื้อให้บางบริษัทได้งาน และลดสเปคลงมาเป็นการผลิตรถเข็นในประเทศ ทำให้มีส่วนต่างกำไรมากขึ้น 200 ล้านบาท โดยได้นำหลักฐานทั้งหมดไปยื่นให้กับ สตง.

-- Patiwat 23:33, 14 กันยายน 2006 (UTC)

ถ้าไม่มี comment จะแก้ตามที่เสนอ. Patiwat 18:36, 16 กันยายน 2006 (UTC)

เรียบรัอย Patiwat 03:00, 28 กันยายน 2006 (UTC)

ชื่อภาษาอังกฤษ

พอมีใครทราบไหมครับว่าทำไม สะกดว่า "Suvarnabhumi" แทนที่ "Suwannaphum" ครับ --Manop | พูดคุย - 22:48, 26 กันยายน 2006 (UTC)

ตามเนื้อหาบทความเลยครับ ชื่อเป็นชื่อพระราชทานที่ใช้คำจากภาษาสันสฤต จึงสะกดตามรูปแบบการสะกดทับศัพท์ภาษาสันสกฤต ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติอยู่แล้วครับ --PaePae 19:28, 27 กันยายน 2006 (UTC)

ข้อความซ้ำซ้อน

ตอนนี้ส่วน "สายการบิน" และ "จุดหมายปลายทาง" ค่อนข้างจะซ้ำซ้อนกันอยู่นะครับ จะจัดเรียงใหม่อย่างไรดี --Manop | พูดคุย - 07:17, 1 ตุลาคม 2006 (UTC)

รวมเรียบร้อยแล้วคับ --Manop | พูดคุย - 22:10, 4 ตุลาคม 2006 (UTC)


วาระแห่งชาติ

อะไร คือ วาระแห่งชาติ หรือครับ สงสัย เห็นมานานแล้ว และเป็นหัวข้อด้วย ย้อนกลับไปอ่านในหน้าประวัติ ก็เห็นเขียนมาตั้งแต่แรกเลย [2] --Manop | พูดคุย - 01:26, 5 ตุลาคม 2006 (UTC)

ความเป็นที่สุด

ตามที่คุณ Bact กรุณาขออ้างอิงไว้ เต็มไปหมดนั้น.. ไปใส่ให้แล้วค่ะ แต่ว่า...

  • ตรงอ้างอิงมันเละไปแล้ว ฝากซ่อมทีนะคะ :P
  • มีความเห็นว่าใส่ไว้ตอนต้นอันเดียวน่าจะพอ (แต่ที่คุณ Bact ขอไว้ก็ดูแยกเป็นเรื่องๆดี) อย่างไรดีอ่ะค่ะ
  • ลิงค์ที่เสีย มีนโยบายอย่างไรคะ เข้าใจว่าเว็บหนังสือพิมพ์จะไม่เก็บไว้เป็นนิรันดร์นะคะ จะเอาออกหรือใส่ไว้อย่างงี้ :P

จาก --- ~ Look-Narm ~ คุย 06:19, 7 เมษายน 2007 (UTC)

ปล. ขออภัยทำวิกิฯเจ๊งอีกแล้ว... เป็นประจำเลยค่ะ สงสัยต้องลง sandbox ก่อนทุกบทความกระมังคะนี่ แหะๆๆ --- ~ Look-Narm ~ คุย 06:21, 7 เมษายน 2007 (UTC)

ไม่มีปัญหาครับ ปัญหาทุกอย่างแก้ได้ คือที่คุณ Look-Narm ใส่ <ref>ใส่ผิดพลาดนิดหน่อยครับ คือถ้าขึ้นต้นด้วย <ref> หรือ <ref name="xxx"> โดยคำสั่งได้ปิดวงเล็บ > ไปแล้ว จะต้องลงท้ายด้วย</ref>เสมอ แต่ถ้าขึ้นต้นด้วย <ref name="xxx" จะต้องตามด้วย /> เสมอครับ อาจจะงงๆ นิดหน่อย แต่ตอนนี้แก้ปัญหาแล้วครับ ^_^ --Manop | พูดคุย - 07:30, 7 เมษายน 2007 (UTC)
เด๋วต้อง save เก็บไว้ในวิธีทำ ref ค่ะ..ขอบคุณมั่กๆค่ะ --- ~ Look-Narm ~ คุย 07:32, 7 เมษายน 2007 (UTC)
  • เรื่องลิงก์เสียนี่ ผมใส่เป็นข้อมูลเอาไว้ครับ เพื่อแจ้งให้ผู้อ่านทราบว่า ไม่ได้มีปัญหาที่เครื่องเขา

การอ้างอิงไม่จำเป็นจะต้องมีลิงก์ก็ได้ (เช่น หนังสือ) แต่ถ้าจะให้ดี กรณีนี้ น่าจะระบุเลขที่หน้าด้วย เพื่อผู้ที่ต้องการค้นคว้าเพิ่มเติม (จากห้องสมุดที่มีนสพ.ฉบับวันนั้น)

    • บางหน้าที่หายไปแล้ว เห็นมีหลายบทความ ใช้วิธีลิงก์ไปหา Google cache หรือ Internet Archive (แต่ตะกี้ค้นหน้าของเดลินิวส์ที่ว่า ไม่เจอครับ)
  • กรณีอ้างอิงจากแหล่งเดียวกัน หลาย ๆ จุด ก็ทำอย่าง ref="xxx" ข้างบนน่ะครับ -- bact' 15:08, 9 เมษายน 2007 (UTC)
    • พบการใส่ ref โดยที่ไม่มีข้อมูลที่อ้างถึงจริง จำนวนมาก ได้ทำการแก้ไขทั้งหมดเท่าที่พบแล้ว แต่ยังอาจหลงเหลืออยู่อีก -- bact' 10:40, 10 เมษายน 2007 (UTC)

อาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก

เท่าที่ทราบกันมาว่า ทอท อ้างว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีตัวอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ 563,000 ตารางเมตร หลังจากนั้น ท่าอากาศยานฮ่องกงก็อ้างว่า เขามีอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลกหลังจากที่การต่อเติมได้เสร็จลงแล้วที่ 570,000 ตารางเมตร จึงทำให้ท่าอากาศยานฮ่องกงน่าจะเป็นท่าอากาศยานที่มีตัวอาคารผู้โดยสารที่เป็นอาคารเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเมื่อเร็วๆนี้ ทอท ออกโฆษณาประชาสัมพนธ์ชุดใหม่อ้างว่า อาคารผู้โดยสารของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีขนาด 570,000 ตารางเมตร ทั้งๆที่ในเวบไซต์ของ ทอท เองข้อมูลยังเป็นตัวเลขเดิมอยู่เลย มีใครพอจะมีที่เป็นหลักฐานยืนยัน เผื่อจะได้เอามาแก้ไขข้อมูลใหม่

ของสุวรรณภูมิไม่ใหญ่ที่สุดในโลกครับ ของสิงค์โปร์ใหญ่กว่าครับ และของสิงค์โปร์จะมีการต่ออาคารหลังสิ้นปี 2549 อีกครับ(ยังไงหลัง ปี 49 ของฮ่องกงก็ใหญ่กว่าอยู่ดี)Hong Kong International Airport ตรงย่อหน้าสองครับ Prince 14:57, 13 ตุลาคม 2006 (UTC)

ลบ "อาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก" ออกแล้ว อย่างน้อย มีอาคารผู้โดยสารที่ 1 ของสนามบินนานาชาติฮ่องกงที่ใหญ่กว่า (570,000 ตร.ม.) (Interesting Facts & Figures, Hong Kong International Airport website) -- bact' 09:49, 10 เมษายน 2007 (UTC)

รันเวย์ยาวที่สุดในโลก

จากบทความ Runway จะเห็นได้ว่ามีสนามบินกว่า 20 แห่ง ที่รันเวย์ยาวกว่าของสุวรรณภูมิ Meam5555 11:33, 10 ตุลาคม 2006 (UTC)

ความเป็นที่สุดที่ไม่ชัดเจน/ยังตรวจสอบไม่ได้

(ย้ายมาจากหน้าบทความ จนกว่าจะตรวจสอบได้)

* สนามบินที่ใช้เวลาการก่อสร้างนานที่สุดในโลก<ref name="ที่สุด-เดลินิวส์" /><ref name="ที่สุด-ซิตี้วาไรตี้">[http://www.cityvariety.com/scoop/index.php?id=32 สุวรรณภูมิ..กับที่สุดและ...ที่สุด] เว็บไซต์ซิตี้วาไรตี้ (ลิงก์เสีย, เรียกดูเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2550)</ref>

ควรจะต้องมีจำนวนเวลาในการก่อสร้าง (กี่ปี กี่เดืิอน..)

* สนามบินที่ใหญ่ที่สุด และทันสมัยที่สุดในโลก<!--วัดจากตัวชี้วัดอะไร?--><ref name="ที่สุด-เดลินิวส์" /><ref name="ที่สุด-ซิตี้วาไรตี้" />

ทันสมัยที่สุดในแง่ไหน วัดอย่างไร ?

* ภายในอาคารเทียบเครื่องบิน ถือเป็นสถาปัตยกรรมที่ทันสมัยที่สุดในโลก<!--วัดจากตัวชี้วัดอะไร?--><ref name="ที่สุด-เดลินิวส์" /><ref name="ที่สุด-ซิตี้วาไรตี้" />

ทันสมัยที่สุดในแง่ไหน วัดอย่างไร ?

* ระบบการบริหารจัดการท่าอากาศยานทุกกิจกรรม ที่ใช้ระบบไอทีติดอันดับโลกไปโดยปริยาย<!--วัดจากตัวชี้วัดอะไร?--><ref name="ที่สุด-เดลินิวส์" /><ref name="ที่สุด-ซิตี้วาไรตี้" />

คลุมเครือ ไม่ชัดเจน วัดจากความซับซ้อน จำนวนระบบ หรืองบประมาณ ?

* มีเรื่อง “ฉาวโฉ่เรื่องการทุจริต” มากที่สุด<!--วัดจากตัวชี้วัดอะไร?--><ref name="ที่สุด-เดลินิวส์" /><ref name="ที่สุด-ซิตี้วาไรตี้" /> ตลอดระยะเวลาหลาย ๆ ปีที่ก่อสร้าง โดยเฉพาะข้อกล่าวหาเรื่อง'''การทุจริต''' ได้แก่ การซื้อที่ดิน ออกแบบก่อสร้าง จ้างบริษัทที่ปรึกษา ถมทราย การว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้าง ขั้นตอนแบ่งงานบริษัทรับเหมา จัดซื้อเครื่องตรวจสอบวัตถุระเบิดที่เพิ่งเป็นข่าวปรากฏในสื่อ

วัดจากจำนวนข่าว ? เรื่องที่อยู่ในระหว่างสอบสวน ? จำนวนเงิน ?

-- bact' 10:52, 10 เมษายน 2007 (UTC)

    • Link CityVariety ไม่เสียนะคะ เปิดดูได้นี่คะ --- ~ Look-Narm ~ คุย 14:25, 10 เมษายน 2007 (UTC)

เสนอบทความคัดสรรที่ควรปรับปรุงใหม่

บทความคัดสรร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถูกเสนอให้ปรับปรุงเพื่อกลับเข้าสู่มาตรฐานบทความคัดสรร:

ดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร#ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

-- bact' 15:17, 9 เมษายน 2007 (UTC)

ไม่สมควรที่จะเอาทุกเฮดไลน์ของคอลัมน์ เจาะลึกสุวรรณภูมิ มาลง

นี้คือบทความเรื่องท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่ใช่บทความเกี่ยวกับคอลัมน์ เจาะลึกสุวรรณภูมิ ไม่สมควรที่จะเอาทุกเฮดไลน์ของคอลัมน์ เจาะลึกสุวรรณภูมิ มาลงในบทความ. Patiwat ไฟล์:74px-Lotus-buddha.svg.png 19:03, 21 พฤษภาคม 2007 (UTC)

จำเป็นมั้ย ที่จะต้องระบุทุก สายการบินและจุดหมายปลายทาง ในบทความ?

จำเป็นมั้ย ที่จะต้องระบุทุก สายการบินและจุดหมายปลายทาง ในบทความ? นี้เป็นข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อย. Patiwat ไฟล์:74px-Lotus-buddha.svg.png 19:09, 21 พฤษภาคม 2007 (UTC)

จำเป็นครับผม วิกิภาษาอังกฤษ และ ภาษาต่างๆยังมีเลยครับ VAIO HK 16:38, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)

ผมอยากทำหน้าเปลี่ยนชื่อไปเป็น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอะครับ เพราะหน้าสุวรรณภูมิไม่มี คำว่านานาชาตินะครับ VAIO HK 16:41, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)

เห็นด้วยว่าน่าจะเปลี่ยนไปเป็น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพราะชื่อภาษาอังกฤษก็ไม่ได้ใช่คำว่า International Airport และมีท่าอากาศยานหลายแห่งในโลกที่เป็น Airport of Entry แต่ก็ไม่ได้ใช้คำว่า International ในชื่อภาษาอังกฤษ หรือในภาษาท้องถิ่นเอง BratBoyz 23:04, 2 กันยายน 2551 (ICT)

ระบบบริหารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ระบบการบริหารจัดการของสนามาบินสุวรรณภูมิถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันผ่านทางเทคโนโลยีที่เรียกว่า AIMS ( Airport Information Management System) ซึ่งครอบคลุมถึง 45 ระบบและทุกระบบทำงานแบบ Real Time Interactive และ Internet-based ซึ่งประมูลงานโดยมีกลุ่มร่วมทุนในนาม Airport System Integration Specialists (ASIS) Consortium ควบคุมดูแล ประกอบด้วย บริษัท สามารถ คอมเทค จำกัด ซีเมนส์ เอบีบี และซาเตี้ยม ด้วยมูลค่าโครงการกว่า 2,200 ล้านบาท ที่ครอบคลุมงานการติดตั้งระบบ การบำรุงรักษาหลังเปิดให้บริการอีก 1 ปี และการฝึกอบรมบุคลากร

ระบบบริหารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประกอบด้วย:

  1. ระบบบริหารข้อมูลสายการบิน FIMS ( Flight Information Management System ) การจัดการเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของสายการบินทั้งเที่ยวไปและกลับ โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลองค์กรสากล สนามบินและสายการบินต่างๆ
  2. ระบบฐานข้อมูลการปฏิบัติการสนามบิน AODB ( Airport Operations Database ) คือ ระบบฐานข้อมูลที่ได้มาจากาการเชื่อมโยงระบบย่อยต่างๆ ในสนามบิน เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์ การวางแผน การจัดการ การควบคุม ตลอดจนการตัดสินใจ
  3. ระบบฐานข้อมูลบริหารสนามบิน AMBD ( Airport Management Database ) คือ ระบบฐานข้อมูลที่ได้มาจากการบริหาร งานธุรการ งานพาณิชย์ ตลอดจนการเงิน และบางส่วนจาก AODB
  4. ระบบรายได้ของสนามบิน Airport Billing System ( Including Aviation & Non-aviation ) คือ ระบบที่รับรู้รายได้ทั้งหมดของสนามบิน โดยระบบจะทำการพิมพ์ใบแจ้งหนี้พร้อมทั้งตั้งหนี้เพื่อรอการเก็บเงิน
  5. ระบบเน็ตเวิร์คและส่วนเชื่อมสื่อสาร AIMS Network backbone including Gateway เป็นการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ภายในอาคารต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล
  6. ระบบ LAN เพื่อการสื่อสารข้อมูล AIMS ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับติดตั้งในอาคาร AIMS
  7. ศูนย์ควบคุมปฏิบัติการสนามบิน AOC ( Airport Operation Center) คือ ระบบตรวจตรา ควบคุมอุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกระบบของสนามบิน โดยครอบคลุมถึงการปฏิบัติการด้านภาคพื้นอากาศ ภาคพื้นดิน อาคารผู้โดยสารและระบบความปลอดภัยในสนามบิน
  8. ศูนย์ควบคุมการเกิดวินาศกรรม CCC ( Crisis Control Center ) คือ ระบบที่ใช้ในห้องควบคุมและบัญชาการเมื่อมีวิกฤตกรณ์ต่างๆ เช่น การปล้นเครื่องบิน การก่อวินาศกรรมในบริเวณสนามบิน เป็นต้น
  9. ศูนย์ควบคุมรักษาความปลอดภัย SCC ( Security Control Center ) เช่น ระบบกล้องวงจรปิด ( CCTV ) ควบคุมอาคาร ( Building Automation System ) เป็นต้น
  10. ศูนย์ควบคุมและบริหารระบบเน็ตเวิร์ค NMC ( Network Management Center ) คือ ระบบควบคุมและจัดการระบบเครือข่ายในระบบ AIMS LAN, AIMS network backbone, PTC LAN
  11. ศูนย์ควบคุมอาคาร Central BAS ( Building Automation System ) คือ ระบบที่ติดตั้งในห้อง AOC และ CCC เป็นศูนย์กลางในการตรวจสอบ การควบคุมและการจัดการระบบ Facility เช่น ระบบลิฟต์ ระบบเครื่องปรับอากาศ ของอาคารต่างๆ ที่อยู่ในสนามบิน
  12. ระบบกล้องวงจรปิดภายนอก และการเชื่อมต่อกับศูนย์ควบคุมส่วนกลาง External CCTV Plus Central CCTV integration เพื่อใช้ในระบบรักษาความปลอดภัยในบริเวณต่างๆ ของสนามบิน
  13. ศูนย์ควบคุมระบบอัคคีภัย Central FDA ( Fire Detection and Alarm ) คือระบบที่ติดตั้งในห้อง AOC และ SCC เป็นศูนย์กลางในการตรวจสอบสัญญาณและแจ้งเตือนไฟไหม้ของระบบ FDA ที่ติดตั้งในอาคารต่างๆ
  14. ศูนย์การระบบแจ้งเวลา Central Clock System คือ ระบบมาตรฐานสัญญาณนาฬิกาที่ใช้อ้างอิงสำหรับนาฬิกาอิเลคทรอนิคส์ที่ติดตั้งในอาคารต่างๆ และนาฬิกาที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีเวลาตรงกัน
  15. ศูนย์กลางระบบ SCADA ( Central SCADA System ) คือระบบที่ติดตั้งในห้อง AOC และ SCC เป็นศูนย์กลางในการตรวจสอบ การควบคุม และการจัดการระบบจ่ายน้ำประปา ระบบจ่ายไฟฟ้า ภายในอาคารต่างๆ
  16. ศูนย์กลางระบบความปลอดภัยและรหัสผ่านเข้า-ออก Central CASS ( Controlled Access Security System ) เพื่อควบคุมการผ่านเข้าออกประตูห้องภายในบริเวณอาคารต่างๆ ของสนามบิน
  17. ส่วนงานเชื่อมต่อกับศูนย์การควบคุมจราจร Interface/Integration work with Traffic Control System คือ ระบบที่ใช้เชื่อมโยงระบบ AIMS กับระบบศูนย์ควบคุมการจราจรของพาหนะต่างๆ เช่น ระบบ Sign board display
  18. ระบบบริการข้อมูล Information KIOSK ซึ่งเป็นตู้แสดงผลทางด้านข้อมูลแก่ผู้โดยสารเกี่ยวกับข้อมูลเที่ยวบิน ข้อมูลสนามบิน แผนผังสนามบิน ข้อมูลสายการบิน แหล่งร้านค้า ร้านอาหาร การเดินทาง เป็นต้น
  19. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล Human Resource Management System ครอบคลุมตั้งแต่การรับสมัคร การบริหารบุคคล เงินเดือน การบันทึกเวลาทำงาน
  20. ระบบบริหารบัญชีและการเงิน Financial Account Management System การบริหารบัญชีทั่วไป บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีทรัพย์สินถาวร การเงิน งบประมาณ ภาษี
  21. ระบบการจัดเก็บรายได้สนามบิน Revenue Collection Management System เป็นการจัดเก็บรายได้ทั้งหมดของสนามบินที่เกี่ยวและไม่เกี่ยวกับ การบิน
  22. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบย่อย ณ อาคารผู้โดยสาร Interface/Integration work with PTC sub-system โดยข้อมูลทั้งหมดจะถูกส่งไปเก็บใน AODB และ AMDB และบางส่วนก็จะส่งกลาบไปยังระบบย่อยต่างๆ ในอาคารผู้โดยสาร
  23. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบย่อยการซ่อมบำรุงสนามบิน Interface/Integration work with AMF Sub-system ( Airport Maintenance Facility )
  24. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบย่อยการควบคุมการบินทางอากาศ Interface/Integration work with ATC Sub-System ( Air Trafic Control )
  25. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์สายการบิน Interface/Integration work with Airline Host Computer & OAG Network (Offcial Airline Guide )
  26. การฝึกอบรม Training แก่พนักงาน ในส่วนที่ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับทุกระบบของ AIMS เพื่อที่จะสามารถนำสิ่งที่ได้รับการฝึกสอนไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  27. One year Operation & Maintenance Service and two years defect liability Maintenance Service คือ การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ AIMS โดยผู้รับเหมาเป็นเวลา 1 ปี และบริการซ่อมบำรุงระยะเวลา 2 ปี โดยเตรียมบุคลากรให้เพียงพอต่อการดำเนินการ และถ่ายทอดความรู้ให้พนักงานในสนามบินสุวรรณภูมิ
  28. ระบบคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ในการจัดการผู้โดยสารและสัมภาระ CUTE including PBRS ( Passenger Baggage Reconciliation System ) & LDCS ( Local Departure Control System )
  29. ระบบแสดงผลข้อมูลและแผนภูมิ AIMS View System เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์และตรวจสอบติดตาม ควบคุม วางแผน และตัดสินใจ
  30. ระบบบริหารการเข้าจอดของเครื่องบิน ณ อาคารผู้โดยสาร Ramp Service Management System เช่น ระบบนำร่องเข้าจอด ( VDGS ) ระบบสายพานผู้โดยสาร ( PLB ) ระบบกำลังไฟบนภาคพื้นดิน ( 400Hz) เป็นต้น
  31. ระบบการจำหน่ายตั๋วและการเช็คอิน On-line Ticketing & Check-in คือ ระบบที่เชื่อมต่อกับระบบการขายตั๋วของสนามบินต่างๆ
  32. ส่วนงานเชื่อมต่อกับระบบย่อยของหน่วยงานของรัฐ Interface work with Government Agency Sub-System คือ ระบบงานที่เชื่อมต่อกับระบบงานของหน่วยงานของรัฐในสนามบิน เช่น การตรวจคนเข้าเมือง และภาษีศุลกากร
  33. ส่วนงานเชื่อมต่อกับระบบย่อยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Interface work with Facilitz System of Privatization Packages คือระบบที่เชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานที่มีการติดต่อทางธุรกิจกับสนามบิน
  34. ส่วนงานเชื่อมต่อกับงานศุลกากร Interface work with Facility System of Custom Free Zone
  35. ห้องทดลองและจำลองประสิทธิภาพอุปกรณ์ต่างๆ ก่อนการติดตั้ง BTL ( Benchmark tesing Laboratory ) ทั้งนี้รวมถึงการแก้ไขเปลี่ยนแปลงทั้งอุปกรณ์และระบบโปรแกรมประยุกต์
  36. ระบบบันทึกและตรวจสอบการบำรุงรักษา Facility Management System ( Facility Inventory Management, Cable Convention System )
  37. ระบบบริหารพื้นที่จอดรถ Car Parking Management System เพื่อบริหารจัดการเกี่ยวกับพื้นที่จอดรถที่ให้เช่าทั้งระยะสั้นและยาว
  38. ระบบการจัดซื้อและจัดจ้าง Procurement Management System ที่ครอบคลุมถึงการรับสินค้า สินค้าคงคลัง พื้นที่จัดเก็บ การกระจายและขนส่งตลอดจนการจ่ายเงิน
  39. ระบบบริหารทรัพย์สินและพื้นที่เช่า Assets Management System คือ ระบบควบคุมและบริหารทรัพย์สินโดยเฉพาะพื้นที่และห้องต่างๆ ที่ให้เช่าในเชิงพาณิชย์รวมทั้งการบริหาร และจัดการเกี่ยวกับผู้เช่าตลอดจนสัญญาต่างๆ
  40. ระบบบริหารร้านค้าและเครื่องชำระเงิน Concession Management System with POS คือ ระบบบริหารและจัดการเกี่ยวกับสัมปทานการขายของในสนามบิน รวมทั้งสินค้าปลอดภาษี เป็นต้น
  41. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบตรวจสอบสภาพสิ่งแวดล้อม Interface/Integration work with Environmental Monitoring System เพื่อได้มาซึ่งข้อมูลด้านเสียงและสภาพแวดล้อมทั่วๆ ไป ในบริเวณสนามบินตลอดจนพื้นที่ใกล้เคียง
  42. การบริหารเว็บเพจ Web Page Service คือ ระบบการบริการข้อมูลของสนามบินสุวรรณภูมิบนอินเทอร์เน็ต โดยประกอบรายละเอียดทุกอย่างเกี่ยวกับสนามบินสุวรรณภูมิ ร้านค้าปลอดภาษี เป็นต้น
  43. ระบบการทำงานธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต E-Business คือ ระบบที่สามารถทำธุรกรรมกับสนามบินสุวรรณภูมิบนอินเทอร์เน็ต ตลอดจนซื้อสินค้าปลอดภาษี
  44. ระบบการทดสอบและจำลอง Simulation Program ที่อาจเกิดขึ้นได้ในสนามบินเพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจ การวิเคราะห์และวางแผน
  45. ส่วนงานเชื่อมต่อระบบเน็ตเวิร์ค Interface/Integration work with AOT Network คือ ระบบเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมโยงระบบ AIMS เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ของการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย --Horus | พูดคุย 18:07, 18 ตุลาคม 2552 (ICT)

อ้างอิง

  1. Suvannabhumi Transportation Guidelines, [1], PDF file