ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อิกคิวซัง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 270: บรรทัด 270:
|}
|}


=== รายพระนามและรายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ===
รายพระนามและรายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
{| border="1" cellpadding="4" cellspacing="1" style="margin: 1em 1em 1em 0; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; text-align:center; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
|- style="background:#cccccc"
| '''ลำดับ'''|| '''รูป''' || width=30%| '''รายพระนาม/รายนาม''' || width=20%| '''เริ่มวาระ''' ||width=20%| '''สิ้นสุดวาระ''' || width=30%| '''หมายเหตุ'''
|-
| bgcolor="#E9E9E9"| '''1''' || [[ไฟล์:Prem Tinsulanonda (Cropped).jpg|100px]] || '''พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]]''' || [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2559]] || '''อยู่ในตำแหน่ง''' || สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นประธานองคมนตรี
|-
|}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:38, 6 ธันวาคม 2559

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รัชกาลที่ 5

ทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธี ศรีสัจปานกาลพระราชทานพระไชยวัฒน์ องค์เล็กและเครื่องราชอิสริยาภรณ์และตั้งองคมนตรี [1] 1. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ 2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์ 3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ 4. เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) 5. เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) 6. เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)

รัชกาลที่ 6

เมื่อ พ.ศ. 2453 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 9 ราย ดังนี้[2]

รัชกาลที่ 7

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภา โดยอภิรัฐมนตรีชุดแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยนั้น ประกอบด้วยพระบรมวงศ์ 5 พระองค์ คือ

  • ตำแหน่ง: อภิรัฐมนตรี
ลำดับ รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2471 อภิรัฐมนตรี
2 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
3 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
4 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
  • ตำแหน่ง: กรรมการองคมนตรี

(2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474) [3]

  1. พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
  2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์
  3. พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
  4. พลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
  5. หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
  6. พลโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
  7. พลเรือเอก หม่อมเจ้าอุปพัทธพงศ์ ศรีธวัช
  8. เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
  9. พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
  10. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  11. พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
  12. พระยาจินดาภิรมย์ราชสภาบดี (จิตร ณ สงขลา)
  13. พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (มิ้น เลาหเศรษฐี)
  14. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
  15. พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  16. พระยาเทพอรชุน (อุ่ม อินทรโยธิน)
  17. พระยาบริบูรณ์ราชสมบัติ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
  18. พระยาเผด็จดุลบดี (เลียบ อรรถยุกติ)
  19. พระยาเพชรดา (สอาด ณ ป้อมเพ็ชร์)
  20. พระยาไพศาลศิลปสาตร์ (รื่น ศยามานนท์)
  21. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
  22. พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
  23. พระยาวิสูตรสาครดิฐ (สาย โชติกเสถียร)
  24. พระยาศรีธรรมาธิราช (เจิม บุณยรัตพันธุ์)
  25. พระยาจ่าแสนยบดี (ชิต สุวรรณวร)
  26. พระยาศุภกรณ์บรรณสาร (นุ่ม วสุธาร)
  27. พระยาสุรินทราชา (นกยุง วิเศษกุล)
  28. พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
  29. พระยาสุพรรณสมบัติ (ติณ บุนนาค)
  30. พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
  31. หม่อมเจ้าอลงกฎ ศุขสวัสดิ
  32. หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยันต์
  33. พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (อวบ เปาโรหิตย์)
  34. พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร์)
  35. พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
  36. พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
  37. พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  38. หม่อมเจ้าดำรัศดำรงค์ เทวกุล
  39. พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  40. พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
แต่งตั้งเพิ่มเติม

(1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476) [6] สิ้นสุดลงเมื่อคณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475

  1. พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
  2. หม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ
  3. เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
  4. เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
  5. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  6. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
  7. เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)
  8. เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
  9. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
  10. พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  11. พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (รื่น ศยามานนท์)
  12. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
  13. พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
  14. พระยาจ่าแสนยบดี (ชิต สุวรรณวร)
  15. พระยาสุรินทราชา (นกยุง วิเศษกุล)
  16. พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
  17. พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
  18. พระยามหาวินิจฉัยมนตรี (เภา ภวมัย)
  19. พระยาอมเรศร์สมบัติ (ต่วน ศุขะวณิช)
  20. พระยาพรหมทัตศรีพิลาต (แฉล้ม มิตรานนท์)
  21. พระยาเมธาธิบดี (สาตร์ สุทธเสถียร)
  22. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ
  23. หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยยันต์
  24. เจ้าพระยามุขมนตรี (อวบ เปาโรหิตย์)
  25. พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร)
  26. พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
  27. พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา)
  28. พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  29. พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
  30. พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  31. หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยยันต์
  32. พระยาพิพิธสมบัติ (ตาบ กุวานนท์)
  33. พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์)
  34. พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล)
  35. หม่อมเจ้าวิบุลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
  36. พระยาชลมารคพิจารณ์ (หม่อมหลวงพงษ์ สนิทวงศ์)
  37. พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
  38. พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
  39. พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์)
  40. พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ผ่อง โชติกะพุกกณะ)

อภิรัฐมนตรีทำหน้าที่จนถึง พ.ศ. 2475

โดยหลังจากที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

ได้มีประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรีสภา เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475

รัชกาลที่ 8

รัชกาลที่ 9

พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2492

  • ตำแหน่ง: อภิรัฐมนตรี
ลำดับ รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 ประธานอภิรัฐมนตรี
2 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
3 พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
4 พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
5 พลตำรวจเอกอดุล อดุลเดชจรัส พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี

พ.ศ. 2492 - ปัจจุบัน

  • ตำแหน่ง: องคมนตรี
ลำดับ รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ สาเหตุการสิ้นสุดวาระ
1 พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 13 มีนาคม พ.ศ. 2494 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
8 เมษายน พ.ศ. 2495 19 ธันวาคม พ.ศ. 2495
2 พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
3 พลตำรวจเอกอดุล อดุลเดชจรัส 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
4 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503
5 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
6 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 25 กันยายน พ.ศ. 2519
7 พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ไปดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 27 สิงหาคม พ.ศ. 2505
8 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 24 เมษายน พ.ศ. 2496 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
9 พลเอก ศักดิ์ เสนาณรงค์ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
10 พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์) 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 26 มีนาคม พ.ศ. 2511 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
11 นายศรีเสนา สมบัติศิริ 21 มีนาคม พ.ศ. 2501 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525
12 พลเอก หลวงกัมปนาทแสนยากร (กำปั่น อุตระวณิชย์) 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
13 พลเอก หลวงสุรณรงค์ (ธงไชย โชติกเสถียร) 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 18 มกราคม พ.ศ. 2529
14 พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513
15 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี,
ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
16 หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ถึงชีพิตักษัยในตำแหน่ง
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
26 มีนาคม พ.ศ. 2518 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529
? 3 เมษายน พ.ศ. 2534
17 นายประกอบ หุตะสิงห์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537
18 พลตำรวจเอกอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 16 กันยายน พ.ศ. 2541
19 นายจินตา บุณยอาคม 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
20 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง


รายพระนามและรายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

รายพระนามและรายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช[7]

ลำดับ รูป รายพระนาม/รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 ไฟล์:พระองค์เจ้าธานีนิวัต01.jpg พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492

4 มิถุนายน พ.ศ. 2493
8 เมษายน พ.ศ. 2495
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
8 มิถุนายน พ.ศ. 2506
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
30 กรกฎาคม พ.ศ. 2511
14 ธันวาคม พ.ศ. 2515

25 มีนาคม พ.ศ. 2493

12 มีนาคม พ.ศ. 2494
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
8 กันยายน พ.ศ. 2517

2 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 7 มีนาคม พ.ศ. 2494 ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อ 28 มกราคม พ.ศ. 2495
3 ไฟล์:Prince Alongkod 1.1.jpg พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ 13 มีนาคม พ.ศ. 2494 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ได้รับการสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ เมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2495
4 ไฟล์:จิตร ณ สงขลา.jpg เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
8 มิถุนายน พ.ศ. 2506
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราว
5 ไฟล์:หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 0001.jpg หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 24 มีนาคม พ.ศ. 2518 8 กันยายน พ.ศ. 2518
6 ไฟล์:Sanya Dharmasakti.jpg นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2518 4 กันยายน พ.ศ. 2541
7 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ไปดำรงตำแหน่ง ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
- นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราว


อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น