ผู้ใช้:Software engineer rd

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โครงการและเป้าหมาย




การใช้้ความรู้ด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์และด้านการวิศวกรรมการแพทย์มาประยุกต์ใช้งานดังนี้

การใช้ชิป RFID ซึ่งมีขนาดเล็กประมาณ 11 มม. มาใช้ในการตรวจรักษาโรค และติดตามข้อมูลในการรักษาของผู้ป่วยนั้นเกิดขึ้นเมื่อ

ทางโรงพยาบาลจะทำการฝังชิปลงไปใต้ผิวหนังบริเวณท่อนแขน ตรงส่วนกล้ามเนื้อไตรเซ็บ (Tricep) ซึ่งเป็นไขมัน


การฝังชิปลงใต้ผิวหนังนั้นทำได้ไม่ยุ่งยาก เพียงแค่บรรจุชิปลงในหลอดฉีดยา แล้วฉีดลงไป ซึ่งชิปจะมีสารที่ชื่อว่าไบโอบอนด์ (Biobond)

ช่วยในการยึดเกาะกับเนื้อเยื่อภายในร่างกาย รวมถึงช่วยป้องกันไม่ให้ชิปเสียหายด้วย


จากนั้นเมื่ออวัยวะดังกล่าวถูกสแกนด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ระบบจะดึงข้อมูลส่วนบุคคลที่ฝังอยู่ในชิปขนาดจิ๋วออกมาได้

ซึ่งจะทำให้แพทย์ที่ถูกเปลี่ยนให้มาดูแลคนไข้รายดังกล่าว ได้รับทราบข้อมูล ทางการรักษาของแพทย์คนก่อนหน้าได้อย่างถูกต้อง


เมื่ออวัยวะดังกล่าวถูกสแกนด้วยเครื่อง สแกนเนอร์ ระบบจะดึงข้อมูลส่วนบุคคลที่ฝังอยู่ในชิปขนาดจิ๋ว

เพื่อตรวจสอบสถานะว่าตรงกับเงื่อนไขที่ระบบตั้งเอาไว้หรือไม่ แล้วนำไปสู่การประมวลผลในขั้นถัดไป


เทคโนโลยีดังกล่าวสามารถนำมาประยุกต์ใช้การทำธุรกรรมทางการเงิน หรือการรักษาความปลอดภัยในอาคาร ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ได้ในอนาคต


ภาษาที่ใช้

ภาษาซี

ภาษาแอสเซมบลี

ภาษาวิชวลเบสิค

ภาษาซีชาร์ป (C#)



เป้าหมายในอนาคต



ญี่ปุ่น มีบุคลากรทํางาน R&D ด้าน Embedded Software ประมาณ 5,000 คน แต่ยังไม่พอเพียงและหาเพิ่มลําบาก


จึงต้องขยายไปนอกประเทศ ซึ่งได ้เลือกประเทศไทยเนื่องจากมีความ สาคัญเพิ่มขึนที่จะเป็นศูนย์ R&D


คนจบใหม่ในสาขาที่ต้องการในจํานวนที่น่าจะเพียงพอและสามารถจะฝึกได้ ทั้งนี้ แม้ว่าจะใช้เวลาแต่ก็สามารถ คาดหวังได ้


ประเทศไทยในปัจจุบันมีบุคลากรด้านนี้เพียง 86 คน จะต ้องเพิ่มตามแผนเป็ น 600 คนใน 5ปี


เพื่อขยายงานจาก ด้าน Down stream ไปสู่ด้าน Up stream (Designing, Verification ฯลฯ) มากขึ้น

ผลวิจัยระหว่างไทยกับจีนและอินเดียก่อนการตัดสินในลงทุนในไทย ได ้พบว่า


- โดยทั่วไปบุคลากรของไทยมีระดับทักษะเทียบกันได ้กับจีนและอินเดีย


- ไทยมีความรู ้เกี่ยวกับ Hardware ยังไม่แน่นพอ แต่สามารถเข้าใจได ้เร็ว


- ไทยมีความสามารถด้านโปรแกรมภาษา C โดยทั่วไป


- นักศึกษาไทยในญีป่นมีมากทีมหาวิทยาลัยโอซากา และ Tokyo Institute of Technology


แต่เรียนจบแล้วอยากทํางานที่ญี่ปุ่น 3 - 5 ก่อนกลับประเทศไทย


- คนในระดับอนุปริญญาไทยมีสมองดี แต่สวนใหญ่จะเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น



อ้างอิงก์[แก้]


ประวัติผู้เขียน

นามปากกา : วทัญญู ม.



( ข้อมูลระบบ wiki ยังไม่ไ่ด้ปรับปรุงเพิ่มเติม)

หนังสือที่ยังอยู่ในระหว่างดำเนินการ

- การพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวประยุกต์ - การใช้ ภาษาซีในงาน middleware


[1]

  1. http://en.wikipedia.org/wiki/Embedded_software