ผู้ใช้:Kaoavi/ห้องทำงาน1

พิกัด: 15°54′N 102°00′E / 15.9°N 102.0°E / 15.9; 102.0
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หมวดหินโคกกรวด
แนวชั้นหิน: แอปเทียน
~120–113Ma
ชนิดหมวดหิน
หน่วยของกลุ่มหินโคราช
ข้างใต้หมวดหินมหาสารคาม
ข้างบนหมวดหินภูพาน
วิทยาหิน
ปฐมภูมิหินทราย, หินทรายแป้ง
อื่นๆหินกรวดมน, หินดินดาน
สถานที่
พิกัด15°54′N 102°00′E / 15.9°N 102.0°E / 15.9; 102.0
พิกัดทางโบราณภูมิศาสตร์โดยประมาณ16°18′N 105°18′E / 16.3°N 105.3°E / 16.3; 105.3
ภูมิภาคอินโดจีน
ประเทศ ไทย
ขอบเขตที่ราบสูงโคราช
ส่วนชนิด
ตั้งชื่อโดยวัดรอยตีนวอร์ดและบุนนาค (Ward & Bunnag)
ปีที่ตั้งชื่อ1964
Kaoavi/ห้องทำงาน1ตั้งอยู่ในประเทศไทย
Kaoavi/ห้องทำงาน1
Kaoavi/ห้องทำงาน1 (ประเทศไทย)

หมวดหินโคกกรวด เป็นหมวดหินที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยถือเป็นหมวดหินชั้นบนสุดของกลุ่มหินโคราช[1] มีมาตั้งแต่สมัยแอปเทียนในยุคครีเทเชียสตอนต้นมีความโดดเด่นในเรื่องการขุดค้นซากดึกดำบรรพ์ของไดโนเสาร์หมวดหินนี้มีอายุเทียบเท่ากับหมวดหิน Grès supérieurs ในประเทศลาว[2]หมวดหินหมวดนี้มีการก่อตัวมาจากหินทรายแป้งจากตะกอนของแม่น้ำประกอบด้วยหินทรายแป้งสีแดงและหินทรายเป็นหลัก

สัตว์ดึกดำบรรพ์ที่มีกระดูกสันหลัง[แก้]

การใช้
อนุกรมวิธาน จัดประเภทอนุกรมวิธานใหม่ อนุกรมวิธานที่ถูกรายงานว่าเป็นเท็จ อนุกรมวิธานชื่อพ้อง Ichnotaxon Ootaxon Morphotaxon
หมายเหตุ
การแบ่งประเภทสิ่งมีชีวิตที่คลุมเครือจะแสดงในข้อความขนาดเล็ก การแบ่งประเภทสิ่งมีชีวิตที่ถูกขีดฆ่าจะไม่น่าเชื่อ

หมวดหินโคกกรวดมีทั้งซากฉลาม ปลา เต่า จระเข้ เทอโรซอร์ ภูเวียงโกซอรัส สยามโมซอรัส รวมถึงซากหลังกะโหลกของสไปโนซอรัสชิ้นเล็ก ๆ ก็ถูกค้นพบในหมวดหินนี้ ฟันของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายฟูกูอิแรปเตอร์ก็ถูกค้นพบและถูกกู้สภาพเก็บรักษาไว้

สัตว์เลื้อยคลาน[แก้]

ไดโนเสาร์[แก้]

รายชื่อซากไดโนเสาร์ที่พบในหมวดหินโคกกรวด
สกุล สปีชีส์ สถานที่ค้นพบ ส่วนประกอบ หมายเหตุ รูปภาพ
คล้าย เอเชียโนโพดัส cf. A. isp. "บ้านเหล่าหนาด อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม"[3] พบอย่างน้อย 79 ร่องรอย[3] พบรอยเท้าเทโรพอด
Ichnogen. et. sp. indet. บ้านเหล่าหนาด อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม[3] "Two trackways: T23 composed of 6 consecutive tracks and T35 composed of 3 discontinuous tracks".[3] Flattened possible theropod tracks.
Psittacosaurus P. sattayaraki[4] Ban Dong Bang Noi "Well preserved left dentary and an incomplete maxilla."[5] A ceratopsian
Ratchasimasaurus R. suranareae Nakhon Ratchasima province.[6] An iguanodontian ornithopod
Siamodon S. nimngami[7] Ban Saphan Hin PRC-4, a well-preserved left maxilla, PRC-5, an isolated maxillary tooth and PRC-6, a braincase.[7] An iguanodontian ornithopod
Sirindhorna S. khoratensis Muaeng Nakhon Ratchasima District, Nakhon Ratchasima Province.[8] An iguanodontian ornithopod
Siamosaurus S. sp.[9] Teeth A spinosaurid
Siamraptor S. suwati Muaeng Nakhon Ratchasima District, Nakhon Ratchasima Province.[10] "A composite cranial and postcranial skeleton comprising premaxilla, maxilla, jugal, surangular, prearticular, articular, vertebrae, manual ungual, ischium, tibia, and pedal phalanx".[10] A carcharodontosaur

อ้างอิง[แก้]

  1. Eric Buffetaut (2009). Late Palaeozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. Geological Society of London. p. 146. ISBN 978-1-86239-275-5.
  2. Weishampel, David B; et al. (2004). "Dinosaur distribution (Early Cretaceous, Asia)." In: Weishampel, David B.; Dodson, Peter; and Osmólska, Halszka (eds.): The Dinosauria, 2nd, Berkeley: University of California Press. Pp. 563-570. ISBN 0-520-24209-2.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Kozu, Shohei; Sardsud, Apsorn; Saesaengseerung, Doungrutai; Pothichaiya, Cherdchan; Agematsu, Sachiko; Sashida, Katsuo (2017-11-01). "Dinosaur footprint assemblage from the Lower Cretaceous Khok Kruat Formation, Khorat Group, northeastern Thailand" (PDF). Geoscience Frontiers (ภาษาอังกฤษ). 8 (6): 1479–1493. Bibcode:2017GeoFr...8.1479K. doi:10.1016/j.gsf.2017.02.003. ISSN 1674-9871.
  4. Buffetaut, Eric & Suteethorn, Varavudh. (1992). A new species of the ornithischian dinosaur Psittacosaurus from the Early Cretaceous of Thailand. Palaeontology 35: 801-812.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ KhokKruat
  6. Shibata, Masateru; Jintasakul, Pratueng; Azuma, Yoichi (2011). "A New Iguanodontian Dinosaur from the Lower Cretaceous Khok Kruat Formation, Nakhon Ratchasima in Northeastern Thailand". Acta Geologica Sinica (ภาษาอังกฤษ). 85 (5): 969–976. doi:10.1111/j.1755-6724.2011.00230.x.
  7. 7.0 7.1 Buffetaut, Eric; Suteethorn, Varavudh (2011). "A new iguanodontian dinosaur from the Khok Kruat Formation (Early Cretaceous, Aptian) of northeastern Thailand". Annales de Paléontologie. 97 (1–2): 51–62. Bibcode:2011AnPal..97...51B. doi:10.1016/j.annpal.2011.08.001.
  8. Shibata, Masateru; Jintasakul, Pratueng; Azuma, Yoichi; You, Hai-Lu (2015-12-30). "A New Basal Hadrosauroid Dinosaur from the Lower Cretaceous Khok Kruat Formation in Nakhon Ratchasima Province, Northeastern Thailand". PLOS ONE. 10 (12): e0145904. Bibcode:2015PLoSO..1045904S. doi:10.1371/journal.pone.0145904. ISSN 1932-6203. PMC 4696827. PMID 26716981.
  9. Milner, Angela; Buffetaut, Eric; Suteethorn, Varavudh (2007). "A tall-spined spinosaurid theropod from Thailand and the biogeography of spinosaurs". Journal of Vertebrate Paleontology. 27 (supplement 3): 118A. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-23. สืบค้นเมื่อ 2020-06-08.
  10. 10.0 10.1 Chokchaloemwong, Duangsuda; Hattori, Soki; Cuesta, Elena; Jintasakul, Pratueng; Shibata, Masateru; Azuma, Yoichi (2019-10-09). "A new carcharodontosaurian theropod (Dinosauria: Saurischia) from the Lower Cretaceous of Thailand". PLOS ONE (ภาษาอังกฤษ). 14 (10): e0222489. Bibcode:2019PLoSO..1422489C. doi:10.1371/journal.pone.0222489. ISSN 1932-6203. PMC 6784982. PMID 31596853.