ปืนของเชคอฟ

บทความนี้เป็นบทความแปลของพนักงานดีแทคในความร่วมมือกับวิกิพีเดีย คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ปืนของเชคอฟ (อังกฤษ: Chekhov's gun, รัสเซีย: Чеховское ружьё) คือทฤษฎีการละครหนึ่งที่กล่าวว่า ทุกองค์ประกอบในเรื่องเล่าจะถูกกล่าวถึงเฉพาะเมื่อจำเป็น ไม่สามารถทดแทนได้ และสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นต้องถูกกำจัดออกไป[1][2][3]

กำจัดทุกสิ่งที่ไม่สำคัญกับเรื่องออกไป ถ้าในบทแรกมีปืนไรเฟิลแขวนอยู่บนผนัง ในบทที่สองหรือสามต้องมีการลั่นไก ถ้าไม่มีการลั่นไก มันก็ไม่ควรจะแขวนไว้อยู่แต่แรก

คำกล่าวอื่น ๆ เกี่ยวกับทฤษฎี เช่น

  • "เราต้องไม่วางปืนไรเฟิลพร้อมกระสุนบนเวที ถ้าจะไม่มีการลั่นไกขึ้น ถือได้ว่าเป็นความผิดของเราในการไม่รักษาสัญญา" เชคอฟ, จดหมายถึงอะเลคซันดร์ เซเมโนวิช ลาซาเรฟ (นามแฝงของ เอ.เอส. กรูซินสกี) วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432[5][6][7] ในที่นี้ "ปืน" หมายถึงบทพูดเดี่ยวที่เชคอฟมองว่าฟุ่มเฟือยและไม่สัมพันธ์กับส่วนที่เหลือของละคร
  • "ถ้าในองก์แรกมีปืนพกแขวนอยู่บนผนัง องก์ต่อมาต้องมีการลั่นไก ไม่อย่างนั้นก็ไม่ต้องแขวนมันไว้แต่แรก" จากบทความของเกอร์เลียน Reminiscences of A. P. Chekhov ใน Teatr i iskusstvo พ.ศ. 2447 (ฉบับที่ 28, 11 กรกฎาคม, หน้า 521)[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. Petr Mikhailovich Bitsilli (1983), Chekhov's art, a stylistic analysis, Ardis, p. x, ISBN 0882334891, OCLC 9197554
  2. Daniel Stephen Burt (2008), The Literature 100: A Ranking of the Most Influential Novelists, Playwrights, and Poets of All Time, Infobase Publishing, pp. 137–139, ISBN 1438127065
  3. 3.0 3.1 Valentine Tschebotarioff Bill (1987), Chekhov: The Silent Voice of Freedom, Philosophical Library, ISBN 0802225144, OCLC 242149050
  4. Sergei Ivanovich Shchukin, Memoirs (1911)
  5. Anton Chekov entry at The Isaiah Berlin Virtual Library
  6. Чехов А. П. (1 November 1889), Чехов — Лазареву (Грузинскому) А. С., Чехов А. П. Полное собрание сочинений и писем, АН СССР. Ин-т мировой лит.
  7. Leah Goldberg (1976), Russian Literature in the Nineteenth Century: Essays, Magnes Press, Hebrew University, p. 163, ISBN 9652235784, OCLC 2783423
  8. In 1889, 24-year-old Ilia Gurliand noted these words down from Chekhov's conversation: "If in Act I you have a pistol hanging on the wall, then it must fire in the last act". Donald Rayfield, Anton Chekhov: A Life, New York: Henry Holt and Company, 1997, ISBN 0-8050-5747-1, p. 203
    Ernest. J. Simmons says that Chekhov repeated the point later (which may account for the variations). Ernest J. Simmons, Chekhov: A Biography, Chicago: University of Chicago Press, 1962, ISBN 0-226-75805-2, p. 190