จิตติ นาวีเสถียร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จิตติ นาวีเสถียร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดำรงตำแหน่ง
13 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
ก่อนหน้าชื่น ระวิวรรณ
ถัดไปมนูญ บริสุทธิ์
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
9 มีนาคม พ.ศ. 2512 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
ก่อนหน้าพล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์
ถัดไปพล.อ. กฤษณ์ สีวะรา
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด19 มีนาคม พ.ศ. 2455
อำเภอนางเลิ้ง จังหวัดพระนคร
เสียชีวิต3 กันยายน พ.ศ. 2525 (70 ปี)
คู่สมรสคุณหญิงจันทร์เพ็ญ นาวีเสถียร
บุตร4 คน
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัด กองทัพบกไทย
ประจำการพ.ศ. 2476 – พ.ศ. 2516
ยศ พลเอก
ผ่านศึกกรณีพิพาทอินโดจีน
สงครามมหาเอเซียบูรพา

พลเอก จิตติ นาวีเสถียร (19 มีนาคม พ.ศ. 2455 - 3 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนายทหารชาวไทย และนักการเมือง อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุด, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง และอดีตราชองครักษ์เวร

ประวัติ[แก้]

ชีวิตส่วนตัว[แก้]

จิตติ นาวีเสถียร[1] เกิดวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2455 เป็นบุตรของเสวกโท พระยานาวีวราสา (ยืน นาวีเสถียร) และคุณหญิงนาวีวราสา (แดง นาวีเสถียร)

จิตติ นาวีเสถียร สมรสกับคุณหญิงจันทร์เพ็ญ นาวีเสถียร (สกุลเดิม คือ วงศ์ลือเกียรติ) และบุตรทั้งหมด 4 คน คือ

  1. พล.อ. จิระ นาวีเสถียร
  2. นางจวนจันทร์ ศิริถาพร
  3. พล.อ. พัฒนชัย นาวีเสถียร
  4. พล.ต. วีระพัฒน์ นาวีเสถียร

การศึกษา[แก้]

จิตติเป็นนักเรียนนายร้อย เลขประจำตัว 3923 เมื่อปี พ.ศ. 2472 และศึกษาวิชาทหาร ดังนี้[1]

ในปี พ.ศ. 2513 พล.อ. จิตติ ได้รับพระราชทานปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขากสิกรรมสัตวบาล จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การทำงาน[แก้]

ราชการทหาร[แก้]

ถึงแก่อนิจกรรม[แก้]

พล.อ. จิตติ นาวีเสถียร ถึงแก่อนิจกรรมดวยโรคตับวายเฉียบพลัน ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2525 เวลา 21:00 น. สิริอายุ 70 ปี มีพิธีพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร[1]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

พล.อ. จิตติ นาวีเสถียร ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ ดังนี้[1]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 (2525). อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก จิตติ นาวีเสถียร ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว. 19 ธันวาคม 2525. ธนาคารทหารไทย จำกัด.
  2. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๑๐๔ ง หน้า ๑๘, ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๔
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๗ ตอนที่ ๑๐๒ ง หน้า ๒๒, ๑๔ ธันวาคม ๒๕๐๓
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ , เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๔๕ ง หน้า ๑๑, ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๐๖
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รามาธิบดี, เล่ม ๘๒, ตอน ๔๑ ง หน้า ๑๔๔๕, ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๘
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ง หน้า ๙๑๘, ๒ พฤษภาคม ๒๔๘๔
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๕, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๕๕ ง หน้า ๑๔๗๓, ๒ ตุลาคม ๒๔๘๘
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลที่ ๘, เล่ม ๖๗ ตอนที่ ๓๙ ง หน้า ๓๐๓๘, ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๙๓
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๕๘ ง หน้า ๑๔๗๓, ๒๖ มิถุนายน ๒๕๐๕
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๓ ตอนที่ ๔๒ ง หน้า ๑๕๑๖, ๒๒ พฤษภาคม ๒๔๙๙
  12. 12.0 12.1 ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๙๕ ง หน้า ๒๒๕๒, ๒๓ ตุลาคม ๒๕๐๕