คุยกับผู้ใช้:Pbr15

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ (NAKHONSAWAN METEOROLOGICAL STATION) 1. รายละเอียดของสถานี 1.1 ชื่อ สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ 1.2 ชื่อ ภาษาอังกฤษ NAKHONSAWAN METEOROLOGICAL STATION 1.3 ชื่อเดิม สถานีตรวจอากาศนครสวรรค์ 1.4 เลขประจำสถานี (WMO) 48400 1.5 เลขประจำสถานีสถานีฝน (Local Rain Station) 400201 1.6 ประเภทสถานี ตรวจอากาศผิวพื้น (Surface) 1.7 เริ่มทำการตรวจอากาศครั้งแรก วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 2. ที่ตั้งของสถานี (Location) 2.1 ที่อยู่ เลขที่ 36/13 หมู่ที่ 1 ตำบลนครสวรรค์ออก อ.เมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ 60000 2.2 หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร 056 - 255869 , 056-325034 2.3 E-Mail s48400@metnet.tmd.go.th 2.4 เว็บไซต์ http://www.met-sawan.tmd.go.th 2.5 เนื้อที่ 3 ไร่ 2.6 พิกัดสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ ละติจูด 15o 40' 18.6 องศาเหนือ ลองติจูด 100o 07' 56.5 องศาตะวันออก 2.7 ความสูงของสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์จากระดับน้ำทะเล(MSL) 34.008 เมตร 2.8 ระยะอ้างอิง - สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ห่างจากตัวเมืองนครสวรรค์ 5 กม. - ห่างจากสถานีอุตุนิยมวิทยากลุ่มงานอากาศเกษตรตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ 90 กม. - สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์อยู่ในสนามบินนครสวรรค์



2.9 ผังที่ตั้งและขอบเขตสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์


2.10 รายละเอียดที่ตั้งเดิม (ไม่มี)

   	2.10.1  เลขประจำสถานีเดิม  (WMO)	48400
   	2.10.2  พิกัดสถานีตรวจอากาศนครสวรรค์	ละติจูด        -		ลองติจูด       -
   	2.10.3  ความสูงของสถานีตรวจอากาศนครสวรรค์จากระดับน้ำทะเล         -
  	2.10.4  ประเภทสถานี     -
   	2.10.5  ระยะอ้างอิง    -
   	2.10.6  ทำการตรวจสารประกอบ อะไรบ้าง
   	2.10.7  เวลาที่ทำการตรวจ   วัน  เดือน   ปี

2.10.8 หมายเหตุ เปลี่ยนเฉพาะชื่อสถานี จากสถานีตรวจอากาศนครสวรรค์ เป็นสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ ตำแหน่งที่ตั้งเดิม

3. สภาพภูมิประเทศแวดล้อมสถานี (Environment) 3.1 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับพิพิธภัณฑ์สนามบินนครสวรรค์ ทิศใต้ ติดกับข่าวกรองแห่งชาติ ทิศตะวันออก ติดกับ รันเวย์สนามบินนครสวรรค์ ทิศตะวันตก ติดกับบ้านพักสนามบินนครสวรรค์ 3.2 สภาพภูมิประเทศ อยู่ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลนครสวรรค์ออก ภายในสนามบินนครสวรรค์ ของสำนักฝนหลวงและการบินเกษตร 4. การตรวจอากาศ สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ ทำการตรวจอากาศผิวพื้นทุกวัน วันละ 8 เวลา ทุก 3 ชั่วโมง โดยจะทำการตรวจอากาศเวลา 01.00 , 04.00 , 07.00 , 10.00 , 13.00 , 16.00 ,19.00 และ 22.00 น. และทำการตรวจอากาศตามคำสั่งของกรมอุตุนิยมวิทยาในกรณีพิเศษ การตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยาที่สำคัญ สารประกอบอุตุนิยมวิทยา เวลา (น.) 0100 0400 0700 1000 1300 1600 1900 2200 ความกดอากาศ / / / / / / / / อุณหภูมิตุ้มแห้ง / / / / / / / / อุณหภูมิตุ้มเปียก / / / / / / / / อุณหภูมิสูงสุด / อุณหภูมิต่ำสุด / ความชื้นสัมพัทธ์ / / / / / / / / ลมผิวพื้น (ทิศลม,กำลังลม) / / / / / / / / ทัศนวิสัย (กม.) / / / / / / / / ฝน (หยาดน้ำฟ้า) / / / / / / / / การระเหยของน้ำ / ตรวจเมฆ / / / / / / / / ปรากฏการณ์ธรรมชาติ / / / / / / / /



4.1 การตรวจอากาศเพื่อการบิน สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ ทำการตรวจอากาศเพื่อการบิน ทุกวัน วันละ 5 เวลา ทุก 3 ชั่วโมง โดยจะทำการตรวจเวลา 07.00 , 10.00 , 13.00 , 16.00 และ 19.00 น. 4.2 การตรวจแผ่นดินไหว สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ ทำการตรวจแผ่นดินไหว ทุกวัน วันละ 1 เวลา โดยจะทำการตรวจเวลา 07.00 น. 5. เครื่องมือตรวจอากาศ 5.1 ขนาดของสนามอุตุนิยมวิทยา 15 x 15 เมตร 5.2 ความสูงจากพื้นดิน (Elevation) ความสูงของกระปุกปรอทจากระดับน้ำทะเล 35.279 เมตร ความสูงของฐานเรือนเทอร์โมมิเตอร์ 1.20 เมตร ความสูงของศรลมจากพื้นดิน 14.00 เมตร ความสูงของเครื่องวัดลมจากพื้นดิน 14.00 เมตร ความสูงของปากเครื่องวัดฝนจากพื้นดิน 1.00 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางปากถังวัดน้ำฝน (ถังสังกะสีทรงกลม) 20.20 เซนติเมตร (8 นิ้ว)

    5.3 ภาพสนามอุตุนิยมวิทยา




5.4 เครื่องมือตรวจอากาศปัจจุบัน

วัน เดือน ปี ชนิด ใช้งานตั้งแต่ สอบเทียบเมื่อ หมายเหตุ วัน.เดือน.ปี 15 พ.ย.14 บาโรมิเตอร์แบบปรอท (Wilh Lambrecht) 15 พ.ย.14 10/3/2551 17 ต.ค.96 บาโรกราฟ(Negretti&Zambra) 17 ต.ค.96 19/6/2549 26 ก.ย.31 เทอร์โม-ไฮโกรกราฟ (Sato Keiryoki MFG.) 26 ก.ย.31 19/6/2549 วศ.09-02-1126 18 มี.ค.24 เทอร์โมมิเตอร์สูงสุด (Casella London) 18 มี.ค.24 19/6/2549 วศ.09-02-598 6 ธ.ค.27 เทอร์โมมิเตอร์ต่ำสุด (Casella London) 6 ธ.ค.27 19/6/2549 26 ม.ค.39 ไซโครมิเตอร์(ตุ้มแห้ง-ตุ้มเปียก) (Negretti&Zambra) 26 ม.ค.39 19/6/2549 วศ.09-02-1535 31 ต.ค.44 เครื่องวัดฝนแบบแก้วตวง( 8 นิ้ว) 31 ก.ค.44 19/6/2549 14 ก.ย.49 เครื่องวัดฝนแบบอัตโนมัติ (Ota Keiki Seisakusho) 14 ก.ย.49 14/9/2549 อต.660-011-02-19 31 ต.ค.44 เครื่องวัดน้ำระเหยแบบถาด 31 ก.ค.44 19/6/2549 11 พ.ย.34 แก้ววัดน้ำฝน 11 พ.ย.34 19/6/2549 26 ก.ย.30 เครื่องวัดลมถาดน้ำระเหย (Siap Bologna) 26 ก.ย.30 19/6/2549 2 ม.ค.40 เครื่องเทอร์โมมิเตอร์ลอยน้ำ 2 ม.ค.40 19/6/2549 วศ.09-021717 21 ก.พ.20 เครื่องวัดทิศทางและความเร็วลม (Saip Bologna Italy) 21 ก.พ.20 19/6/2549 28 ธ.ค.99 เครื่องวัดความยาวนานแสงแดด Z(Negetti&Zambra) 28 ธ.ค.99 19/6/2549 30 เม.ย.25 เครื่องวัดแผ่นดินไหว (Kinemetrics) 30 เม.ย.25 15/11/2553 วศ.23-13-4







5.5 รูปภาพเครื่องมือตรวจอากาศ

ตู้สกรีน


เครื่องวัดอุณหภูมิสูงสุด & ต่ำสุดเครื่องวัดอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์





เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นอากาศ



เครื่องวัดการระเหยของน้ำ(American Class Pan)






เครื่องวัดฝนอัตโนมัติ






เครื่องวัดทิศทางและความเร็วลม



บาร์โรกราฟ


บาร์โรมิเตอร์



เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว

5.6 ประวัติการเปลี่ยนแปลงเครื่องมือตรวจวัด ปี พ.ศ. ชนิด ใช้งานตั้งแต่ สอบเทียบเมื่อ หมายเหตุ วัน.เดือน.ปี 2514 เครื่องบาโรมิเตอร์แบบปรอท 15 พ.ย.14 10/3/2551 2496 เครื่องบาโรกราฟ 17 ต.ค.96 19/6/2549 2531 เครื่องเทอร์โม-ไฮโกรกราฟ 26 ก.ย.31 19/6/2549 2524 เครื่องเทอร์โมมิเตอร์สูงสุด 18 มี.ค.24 19/6/2549 2527 เครื่องเทอร์โมมิเตอร์ต่ำสุด 6 ธ.ค.27 19/6/2549 2539 เครื่องเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง-ตุ้มเปียก 26 ม.ค.39 19/6/2549 2544 เครื่องวัดฝนแบบแก้วตวง 31 ก.ค.44 19/6/2549 2549 เครื่องวัดฝนแบบอัตโนมัติ 14 ก.ย.49 14/9/2549 2544 เครื่องวัดน้ำระเหยแบบถาด 31 ก.ค.44 19/6/2549 2534 แก้ววัดน้ำฝน 11 พ.ย.34 19/6/2549 2530 เครื่องวัดลมถาดน้ำระเหย 26 ก.ย.30 19/6/2549 2540 เครื่องเทอร์โมมิเตอร์ลอยน้ำ 2 ม.ค.40 19/6/2549 2520 เครื่องวัดทิศทางและความเร็วลม 21 ก.พ.20 19/6/2549 2499 เครื่องวัดความยาวนานแสงแดด 28 ธ.ค.99 19/6/2549 2525 เครื่องวัดแผ่นดินไหว 30 เม.ย.25 30/7/2553 5.7 การสอบเทียบ / การบำรุงรักษา / การส่งซ่อม

เครื่องมือ การสอบเทียบ การบำรุงรักษา การส่งซ่อม วันที่ หมายเหตุ การสอบเทียบ

การบำรุงรักษา  
การส่งซ่อม	รับเครื่องมือ	














5.8 เป้าทัศนวิสัยสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์












6. ลักษณะอากาศทั่วไป -อุณหภูมิอากาศเฉลี่ย 28.2 องศา -อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.1 องศา -อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 23.3 องศา -ปริมาณฝนทั้งปีเฉลี่ย 1077.4 มม. -จำนวนวันฝนตกทั้งปี 107 วัน ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ -มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดปกคลุมกลางเดือน ต.ค.-กลาง ก.พ.(ฤดูหนาว) -มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมกลาง พ.ค.-กลาง ต.ค.(ฤดูฝน) -พายุหมุนเขตร้อน มีโอกาสเคลื่อนเข้าหรือผ่านจังหวัดในเดือน ก.ย.



7. ค่าทางสถิติด้านอุตุนิยมวิทยาของสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ สถิติที่สุดของจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2494 ถึงปัจจุบัน

        อุณหภูมิสูงที่สุด          42.7  องศาเซลเซียส       เมื่อวันที่  21 พฤษภาคม  2506
        อุณหภูมิต่ำที่สุด           6.1  องศาเซลเซียส       เมื่อวันที่  13  มกราคม  2498
        ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำที่สุด  10  เปอร์เซ็นต์  เมื่อวันที่  28  กุมภาพันธ์ 2506 และวันที่ 3 มีนาคม 2528                                                                  
        ลมแรงที่สุด  ทิศใต้ ความเร็ว 129.7  กิโลเมตร/ชั่วโมง     เมื่อวันที่    3  พฤษภาคม 2495  
        ฝนมากที่สุดใน 1 ชั่วโมง วัดได้        98.4  มิลลิเมตร      เมื่อวันที่    4  พฤษภาคม 2524
        ฝนมากที่สุดใน 1 วัน        วัดได้     147.0  มิลลิเมตร     เมื่อวันที่    7  ตุลาคม 2494
        ฝนมากที่สุดใน 1 เดือน    วัดได้     588.0  มิลลิเมตร      เมื่อเดือน    ตุลาคม  2553
        ฝนมากที่สุดใน 1 ปี          วัดได้  1,618.3  มิลลิเมตร     เมื่อ ปีพ.ศ.  2531
        ฝนน้อยที่สุดใน 1 ปี          วัดได้    608.5  มิลลิเมตร     เมื่อ ปีพ.ศ.  2534
          หมายเหตุ:-  ค่าสถิติตรวจวัดที่ สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์       


8.ข้อมูลอื่น ๆ ข้อมูลพื้นฐาน (ส่วนที่ 2) สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ (NAKHON METEOROLOGICAL STATION) ............................................ 1. สภาพแวดล้อมสถานี อาคารที่ทำการ สร้างเมื่อ พ.ศ.2529 ราคา 622,000.- ขึ้นทะเบียนราชพัสดุฯที่7(นว.66) ขนาด/ลักษณะ อาคารเป็นตึกชั้นเดียวมีดาดฟ้า ใต้ถุนเตี้ย 2 ห้องทำการ 1 ห้องเก็บของ 1 ห้องน้ำ ขนาด 8.00 x11.50 ม. เสา ค.ส.ล. ฝาก่ออิฐฉาบปูน พื้นค.ส.ล.หินขัดมัน หลังคากระเบื้องลอนคู่






รั้วสนามอุตุฯ สร้างเมื่อ พ.ศ.2519 ราคา 8,900.- รั้วเสา ค.ส.ล. ขึงลาดตาข่ายบิด ขนาด 15 x15 ม.


บ้านพักข้าราชการ ระดับ 1- 2 สร้างเมื่อ พ.ศ.2501 ราคา 135,000.- ขึ้นทะเบียนราชพัสดุฯที่1(นว.66) ขนาด/ลักษณะ อาคารไม้ฝาเชอร่าสองชั้นใต้ถุนเตี้ย 2 ห้องและระเบียง ขนาด 7x8 ม.เสา ค.ส.ล.ต่อกับเสาไม้ ฝาไม้เชอร่า พื้นไม้ หลังคากระเบื้องลอนคู่ (ซ่อมครั้งสุดท้าย ปี พ.ศ.2547)

บ้านพักข้าราชการ ระดับ 1- 2 สร้างเมื่อ พ.ศ.2501 – ขึ้นทะเบียนราชพัสดุฯที่ 2(นว.66) ขนาด/ลักษณะ อาคารไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง 2 ห้อง พื้นล่างเทปูนปูกระเบื้อง ขนาด 6.5x7.5 ม. เสาไม้ ฝาเชอร่า พื้นไม้ หลังคากระเบื้องลอนคู่ (ซ่อมครั้งสุดท้าย ปี พ.ศ.2547)


บ้านพักข้าราชการ ระดับ 5- 6 สร้างเมื่อ พ.ศ.2540 ราคา 471,500.- ขึ้นทะเบียนราชพัสดุฯที่ 10 (นว.66) ขนาด/ ลักษณะ 2 ชั้น ขนาด 4x8 ม.เสา ค.ส.ล ฝาอิฐมอญฉาบปูน พื้น ค.ส.ล.ขัดมันหลังคากระเบื้องลอนคู่


รั้วรอบบริเวณ สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2551 ราคา 648,000.- ขนาด/ลักษณะ รั้วอิฐซีเมนต์บล็อกทึบครึ่งโปรง ฉาบปูนรอยต่อ ขนาด 240 x1.7 ม.


ประตูรั้ว สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2551 ราคา 45,000.- ขนาด/ลักษณะ เหล็กทาสีน้ำมันมีล้อเหล็กเลื่อน ขนาด 5x1.7 ม. มีประตูเหล็กบานเปิด ขนาด 1.2 x1.7 ม.



ป้ายสถานีฯ สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2551 ราคา 102,000.- ขนาด/ลักษณะ ก่ออิฐมอญด้านหน้าผิวบุหินแกรนิตดำ ตัวอักษรกัดกรด ถมสีทอง ด้านหลังฉาบปูนเรียบ มีตราสัญญาลักษณ์กรมฯ แกรนิตดำกัดกรดสีทอง ขนาด 3x1.8 ม.


ถนน สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2551 ราคา 405,000.- ขนาด/ลักษณะ พื้น คสล.ผิวกรีดลาย ขนาด 791 ตรม. พร้อมทางเท้าปูบล็อกคอนกรีตพิมพ์ลาย ขนาด 73 ตรม.



2. อัตรากำลังข้าราชการ 2.1 อัตรากำลังข้าราชการในปัจจุบัน อัตรากำลัง ข้าราชการ 3 อัตรา ลูกจ้างประจำ 1 อัตรา ชื่อผู้ปฎิบัติงาน - นายดิเรก มรสุม ผู้อำนวยการสถานีอุตุนิยมวิทยานคราสวรรค์ - นายอาคม สุขสมนึก เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยา ชำนาญงาน - นายไพบูลย์ รอดโฉม เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยา ชำนาญงาน - นายอาณัติ ศรีพูล เจ้าพนักงานสถานที่

2.2 ประวัติหัวหน้าสถานีและ เจ้าหน้าที่ประจำการ

วัน-เดือน-ปี หัวห้าสถานี เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ 1 พ.ค.2482- 1 ก.พ.2484 นายเงิน ผาพันธ์ - - 1 ก.พ.2484- 1 มี.ค.2486 นายประกอบ บุญโยทัย - - 1 มี.ค.2487- 1 เม.ย.2490 นายชัย คงหิรัญ - - 1 เม.ย.2490- 1 ก.ค.2492 นายสำเริง โพธิทองคำ - - 1 ส.ค.2493- 4 เม.ย.2495 นายทวีศักดิ์ เกิดกล้า - - 24 เม.ย.2495- 1 เม.ย. 2501 นายอัมพร อุทะพันธ์ - - 1 เม.ย.2501- 1 ธ.ค.2503 นายประสิทธิ์ ฉลาดปรุ - - 1 ธ.ค.2503- 4 ต.ค.2507 นายวิเชียร ไก่แก้ว - - 4 ต.ค.2507- 1 ก.พ.2509 นายวีรวัฒน์ เผ่าสังข์ - - 31 พ.ค.2510- 1 ก.พ. 2512 นายวิเชียร ไก่แก้ว - - 1 ก.ค.2512- 1 มี.ค.2513 นายเผ่า สระแก้ว - - 1 ก.ค.2514- 10 มี.ค.2518 นายบุญเทียม ลับสูงเนิน นายประสิทธิ์ เพชรเจริญ - 21 มี.ค.2516- 15 เม.ย.2523 นายสมพงษ์ ฝ่ายอุปละ นายประสิทธิ์ เพชรเจริญ - 15 เม.ย.2523- 1 ก.ค.2529 นายบุญเติม เพชรแอ นายดิเรก มรสุม นายอาคม สุขสมนึก 1 ก.ค.2529- 3 ก.ย.2532 นายสมพงษ์ ฝ่ายอุปละ นายดิเรก มรสุม นายอาคม สุขสมนึก 15 ธ.ค.2532- 30 ก.ย.2537 นายบุญสม เสร็จประเสริฐ นายดิเรก มรสุม นายสงคราม ปลอมโยน 1 ต.ค.2537- 30 ก.ย.2540 นายวิเชียร สังขวรรณะ นายบุญสม เสร็จประเสริฐ นายดิเรก มรสุม 1 ก.ย.2540- 30 ก.ย.2542 นายบุญสม เสร็จประเสริฐ นายดิเรก มรสุม นายไพบูลย์ รอดโฉม 1 ต.ค.2542- 30 ก.ย.2543 นายคำนึง เมืองโครตร นายดิเรก มรสุม นายไพบูลย รอดโฉม 29 มี.ค.2544- 30 ก.ย.2552 นายสะอาด นาคกนก นายดิเรก มรสุม นายไพบูลย์ รอดโฉม 28 ธ.ค.2552-ปัจจุบัน นายดิเรก มรสุม นายอาคม สุขสมนึก นายไพบูลย์ รอดโฉม

3. เขตพื้นที่รับผิดชอบ 3.1 เขตพื้นที่รับผิดชอบ สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ มีพื้นที่รับผิดชอบในเขตจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ดูแลสถานีวัดฝนใน จ.นครสวรรค์ 16 สถานี และสถานีฝนวันอัตโนมัติ 15 สถานี จ.อุทัยธานี สถานีวัดฝนอัตโนมัติ 12 สถานี 3.2 หน้าที่ความรับผิดชอบ หน้าที่และภารกิจความรับผิดชอบ 3.2.1 งานบริหาร - ธุรการ - การเงิน-การบัญชี-การพัสดุ - การประชาสัมพันธ์ - การติดต่อประสานงาน

                        - การรักษาความปลอดภัยและการรักษาความสะอาด

3.2.2 งานตรวจอากาศ - ตรวจอากาศผิวพื้น และบันทึกสารประกอบอุตุนิยมวิทยา ลักษณะลมฟ้าอากาศ และปรากฏการณ์ต่างๆ - ตรวจอากาศเพื่อการบิน - ตรวจแผ่นดินไหว - บันทึกรวบรวมข้อมูลอุตุนิยมวิทยาจัดทำรายงานผลการตรวจอากาศและรวบรวมส่งกรมอุตุนิยมวิทยา - จัดทำและควบคุมบัญชีวัสดุและครุภัณฑ์ของสถานีฯ - บำรุงรักษาเครื่องมือตรวจอากาศ 3.2.3 งานบริการ - บริการด้านสถิติข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาแก่บุคคลทั่วไป และหน่วยงานราชการต่างๆ - รับและกระจายข่าวพยากรณ์อากาศ คำเตือน ข่าวอุตุนิยมวิทยา แก่ส่วนราชการต่างๆและประชาชนที่สนใจ - ร่วมมือและประสานงานกับหน่วยราชการและเอกชนที่ขอความร่วมมือ - เป็นวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับเรื่องอุตุนิยมวิทยาแก่หน่วยงานต่างๆในเขตพื้นที่รับผิดชอบหรือเขตพื้นที่อื่นๆตามคำร้องขอ - สนับสนุนข้อมูลอุตุนิยมวิทยา เพื่อการวางแผนป้องกันน้ำท่วม 3.2.4 ลักษณะการทำงาน สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค์ - ทำการตรวจอากาศผิวพื้นทุกวัน วันละ 8 เวลา ทุก 3 ชั่วโมง โดยจะทำการตรวจอากาศเวลา 01.00 ,04.00 ,07.00 ,10.00 ,13.00 ,16.00 ,19.00 และ 22.00 น. และทำการตรวจอากาศตามคำสั่งของกรมอุตุนิยมวิทยาในกรณีพิเศษ – ทำการตรวจอากาศเพื่อการบินวันละ 5 เวลา 07.00,10.00,13.00,16.00,และ19.00 น. - ทำการตรวจแผ่นดินไหว วันละ 1 ครั้ง เวลา 07.00 น.