กีฬาเฟสปิก 2006

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 9
เมืองเจ้าภาพมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย
ประเทศเข้าร่วม46
นักกีฬาเข้าร่วม3,641
กีฬา17 ชนิด
พิธีเปิด25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006
พิธีปิด1 ธันวาคม ค.ศ. 2006
ประธานพิธีสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน
สมเด็จพระราชินีตวนกู เฟาซิอาห์ บินตี อัลมาร์ฮูม เติงกู อับดุล รอชีด (พิธีเปิด)
นักกีฬาปฏิญาณ[[]]
ผู้ตัดสินปฏิญาณ[[]]
ผู้จุดคบเพลิง[[]]
สนามกีฬาหลักสนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลีล

กีฬาเฟสปิกเกมส์ 2006 การแข่งขันกีฬาเฟสปิก ครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่ กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 25 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) จำนวนนักกีฬา 3,641 คน จาก 46 ประเทศ การแข่งขันเฟสปิกเกมส์ครั้งนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งสุดท้าย จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากกีฬาเฟสปิกเป็นกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ ให้สอดคล้องกับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เอเชียนพาราเกมส์ 2010 จัดขึ้นที่ กวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน ยังเป็นการเริ่มนับครั้งที่หนึ่งใหม่อีกด้วย.

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ[แก้]

คำขวัญ และ สัญลักษณ์[แก้]

คำขวัญ[แก้]

สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ[แก้]

สัญลักษณ์กีฬา[แก้]

เหรียญรางวัล[แก้]

สนามแข่งขัน[แก้]

พิธีเปิด - ปิดการแข่งขัน[แก้]

พิธีเปิด[แก้]

พิธีเปิดการแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 9 จัดขึ้นในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ณ สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลีล โดยสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน และ สมเด็จพระราชินีตวนกู เฟาซิอาห์ บินตี อัลมาร์ฮูม เติงกู อับดุล รอชีด เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด

พิธีปิด[แก้]

การแข่งขัน[แก้]

ชนิดกีฬา[แก้]

กีฬาเฟสปิกเกมส์ในครั้งนี้ บรรจุชนิดกีฬาทั้งหมด 17 ประเภท

ตารางการแข่งขัน[แก้]

แม่แบบ:ปฏิทินกีฬาเฟสปิก 2006

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]

ตารางสรุปเหรียญรางวัล[แก้]

ประเทศที่ได้รับเหรียญทองมากที่สุดในการแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์ 2006 ดังนี้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 จีน 199 72 36 307
2 ไทย 61 42 47 150
3 เกาหลีใต้ 57 42 43 142  
4 มาเลเซีย 44 60 71 175
5 อิหร่าน 36 43 26 105
6 ญี่ปุ่น 26 32 38 96
7 ฮ่องกง 26 30 23 79
8 จีนไทเป 18 29 22 69
9 ออสเตรเลีย 15 17 23 55
10 เวียดนาม 9 27 31 67
11 สิงคโปร์ 7 5 5 17
12 อินเดีย 5 8 19 32
13 พม่า 5 2 4 11
14 อิรัก 4 5 2 11
15 อินโดนีเซีย 3 8 11 22
16  วอลิสและฟูตูนา 3 0 2 5
17 จอร์แดน 3 0 0 3
18 ศรีลังกา 2 15 10 27
19 ฟิลิปปินส์ 2 4 8 14
20  นิวแคลิโดเนีย 2 4 3 9
21 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2 3 1 6
22 บาห์เรน 2 3 0 5
23  ฟีจี 2 0 5 7
24 คาซัคสถาน 1 4 2 7
25 เติร์กเมนิสถาน 1 4 1 6
26 มาเก๊า 1 3 4 8
27 คูเวต 1 2 8 11
28 กาตาร์ 1 0 2 3
29 คิริบาส 1 0 0 1
30 ปากีสถาน 0 5 3 8
31 นิวซีแลนด์ 0 3 2 5
32 มองโกเลีย 0 1 3 4
33 ภูฏาน 0 1 1 2
34 อุซเบกิสถาน 0 1 0 1
35 ติมอร์-เลสเต 0 0 1 1
36 บรูไน 0 0 1 1

สรุปเหรียญรางวัลที่นักกีฬาไทยได้รับ[แก้]

ในการแข่งขันเฟสปิกเกมส์ครั้งนี้ นักกีฬาไทยสามารถทำผลงานได้ทั้งหมด เหรียญ แบ่งเป็น

  • เหรียญทอง จำนวน 61 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
  • เหรียญเงิน จำนวน 42 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
  • เหรียญทองแดง จำนวน 47 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่

การตลาด[แก้]

สัญลักษณ์นำโชค[แก้]

สื่อประชาสัมพันธ์[แก้]

สิทธิการออกอากาศ[แก้]

เพลงประจำการแข่งขัน[แก้]

ผู้สนับสนุน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

บรรณานุกรม[แก้]

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า กีฬาเฟสปิก 2006 ถัดไป
กีฬาเฟสปิก 2002
(ปูซาน เกาหลีใต้เกาหลีใต้)

การแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์
(25 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม ค.ศ. 2006)
--

แม่แบบ:ประเทศในกีฬาเฟสปิก 2006