ข้ามไปเนื้อหา

เขตอภิมหานครโตเกียว

พิกัด: 35°41′23″N 139°41′30″E / 35.68972°N 139.69167°E / 35.68972; 139.69167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเมืองหลวงและปริมณฑล

首都圏
การถอดเสียงภาษาญี่ปุ่น
 • ฮิระงะนะしゅとけん
 • คันจิ首都圏
โตเกียว
โยโกฮามะ
ที่ตั้งของเขตเมืองหลวงและปริมณฑล
พิกัด: 35°41′23″N 139°41′30″E / 35.68972°N 139.69167°E / 35.68972; 139.69167
ประเทศ ญี่ปุ่น
ภูมิภาคคันโต
เกาะฮนชู
เมืองหลักมหานครโตเกียว
โยโกฮามะ
คาวาซากิ
ซางามิฮาระ
ไซตามะ
ชิบะ
พื้นที่
 • เขตเมือง3,925 ตร.กม. (1,515 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล13,754 ตร.กม. (5,310 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (สำมะโนประชากร ปี 2000)[1]
 • เขตเมือง32,542,946 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง8,817 คน/ตร.กม. (21,480 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล34,607,069 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล2,516 คน/ตร.กม. (6,516 คน/ตร.ไมล์)
จีดีพี2008 ประมาณการ
ตัวเงิน[2]US$1.941 ล้านล้าน
อำนาจบริโภคUS$1.479 ล้านล้าน[3] (อันดับ 1 ของโลก)

เขตอภิมหานครโตเกียว เป็นพื้นที่มหานครที่มีประชากรมากที่สุดในโลก ประกอบด้วยภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น (รวมถึงโตเกียวมหานครโตเกียวและจังหวัดชิบะ กุมมะ อิบารากิ คานางาวะ ไซตามะ และโทจิงิ) รวมถึงจังหวัดยามานาชิของ ภูมิภาคชูบุที่อยู่ใกล้เคียง ในภาษาญี่ปุ่น เรียกโดยใช้คำต่างกัน หนึ่งในคำที่พบบ่อยที่สุดในภาษาญี่ปุ่นคือ เขตเมืองหลวงและปริมณฑล (ญี่ปุ่น: 首都圏โรมาจิShuto-kenทับศัพท์: ชูโต-เค็ง)

ในปี พ.ศ. 2559 องค์การสหประชาชาติประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดไว้ที่ 38,140,000 คน[4] ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 13,500 ตารางกิโลเมตร (5,200 ตารางกิโลเมตร)[5] ทำให้มีความหนาแน่นของประชากร 2,642 คน/ตารางกิโลเมตร มันเป็นเขตมหานครเดี่ยวที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกในแง่ของพื้นที่ที่สร้างขึ้นหรือพื้นที่ในเมืองที่ 8,547 ตารางกิโลเมตร (3,300 ไมล์) รองจากเพียงเขตมหานครนิวยอร์กที่ 11,642 ตารางกิโลเมตร (4,495 ไมล์) นอกจากนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวยีงมี GDP สูงถึง 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีเพียงเขตมหานครนิวยอร์กเท่านั้นที่มี GDP สูงกว่าของเขตมหานครโตเกียว (2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ)[3]

แบ่งตามประชากร
อันดับ เขตเมืองและปริมณฑลของ ประชากร
1 ญี่ปุ่น โตเกียว
2 อินโดนีเซีย จาการ์ตา
3 เกาหลีใต้ โซล
4 อินเดีย นิวเดลี
5 จีน เซี่ยงไฮ้
6 ฟิลิปปินส์ มะนิลา
7 สหรัฐ นิวยอร์ก
8 บราซิล เซาเปาโล
9 เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี
10 อียิปต์ ไคโร
ที่มา:Demographia (เม.ย. 2012)[6]
แบ่งตามจีดีพี(อำนาจซื้อ)
อันดับ เขตมหานคร จีดีพี (ล้านดอลล่าร์สหรัฐ)
1 ญี่ปุ่น โตเกียว
2 สหรัฐ นิวยอร์ก
3 สหรัฐ ลอสแอนเจลิส
4 เกาหลีใต้ โซล-อินช็อน
5 สหราชอาณาจักร ลอนดอน
6 ฝรั่งเศส ปารีส
7 ญี่ปุ่น เคฮันชิง
ที่มา:ブルッキングス研究所 (พ.ย. 2012) [7]

อ้างอิง[แก้]

  1. Statistics Bureau of Japan
  2. "平成19年度県民経済計算". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-20. สืบค้นเมื่อ 2015-08-04.
  3. 3.0 3.1 "Global city GDP rankings 2008-2025". Pricewaterhouse Coopers. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-04. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
  4. United Nations. The World's Cities in 2016 (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 12, 2017 – โดยทาง www.un.org.
  5. "Japan Statistics Bureau - Keihin'yō Major Metropolitan Area". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-10. สืบค้นเมื่อ 2015-08-04.
  6. Demographia 2011年4月発表
  7. Global city GDP 2011-2012 เก็บถาวร 2013-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 2012年11月発表