น็อลเลินดอร์ฟพลัทซ์ (สถานีรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน)

พิกัด: 52°29′57″N 13°21′14″E / 52.49917°N 13.35389°E / 52.49917; 13.35389
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์

Nollendorfplatz
เปลี่ยนข้ามชานชาลา (Cross-platform interchange)
รถไฟสาย อู2 กำลังเข้าสู่ส่วนยกระดับของสถานี
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งโนลเลินดอร์ฟพลัทซ์ ชือเนอบวร์ค เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี
พิกัด52°29′57″N 13°21′14″E / 52.49917°N 13.35389°E / 52.49917; 13.35389
เจ้าของแบลีเนอเฟอร์เคียร์เบทรีเบอ
ผู้ให้บริการแบลีเนอเฟอร์เคียร์เบทรีเบอ
ชานชาลา
  • 2 ชานชาลาแบบเกาะอยู่เรียงชั้นกัน (U1, U3, U4)
  • 2 ชานชาลาข้าง (U2)
ราง6 (2 ยกระดับ, 4 ใต้ดิน)
การเชื่อมต่อ
  • : 106, 187, N1, N2, N26
  • : M19
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้าง
  • ใต้ดิน (U1, U3, U4)
  • ยกระดับ (U2)
ระดับชานชาลา3
สิ่งอำนวยความสะดวกจักรยานใช่
ทางเข้าออกสำหรับผู้พิการYes
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี
  • Nm (ใต้ดิน, ออกทางตะวันออก)
  • Nu (ใต้ดิน, ออกทางตะวันตก)
  • No (ยกระดับ)
เขตค่าโดยสารVerkehrsverbund Berlin-Brandenburg (VBB): Berlin A/5555[1]
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ
  • 11 มีนาคม 1902 (ยกระดับ)
  • 26 ตุลาคม 1926 (ใต้ดิน)
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟใต้ดินเบอร์ลิน สถานีต่อไป
Wittenbergplatz
มุ่งหน้า Uhlandstraße
อู 1 Kurfürstenstraße
Wittenbergplatz
มุ่งหน้า Ruhleben
อู 2 Bülowstraße
มุ่งหน้า Pankow
Wittenbergplatz
มุ่งหน้า Krumme Lanke
อู 3 Kurfürstenstraße
Viktoria-Luise-Platz
มุ่งหน้า Innsbrucker Platz
อู 4 สถานีปลายทาง
ที่ตั้ง
โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์ตั้งอยู่ในเบอร์ลิน
โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์
โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์
ที่ตั้งภายในเบอร์ลิน

โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์ (เยอรมัน: Nollendorfplatz) เป็นสถานีรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน (อู-บาน) บนสาย U1, U2, U3 และ U4 สถานีเปิดให้บริการในปี 1902 และปัจจุบันเป็นสถานีเดียวในเบอร์ลินที่มีสายรถไฟใต้ดินให้บริการสี่สาย และเป็นสถานีเดียวที่ทุกสายของ ไคลน์โพรฟิล (Kleinprofil)

สถานีตั้งชื่อตามจัตุรัสโนลเลินดอร์ฟพลัทซ์ ซึ่งตั้งชื่อตาม Nakléřov ในประเทศเช็กเกีย สถานีตั้งอยู่ทางเหนือของชือเนอแบร์ค ที่จุดตัดของถนนโมทซ์ชทราเซอ, ไคลสท์ชทราเซอ (Kleiststraße) และ บือโลวชทราเซอ (Bülowstraße) พื้นที่นี้มีความสำคัญในฐานะศูนย์กลางของวัฒนธรรมเกย์ ใกล้กันยังเป็นที่ตั้งของตลาดวินเทอเฟลท์พลัทซ์ (Winterfeldtplatz) ซึ่งมีชื่อเสียง ต่อมาทศวรรษ 1970 ถึงต้นทศวรรษ 1980 สถานีนี้เป็นแหล่งทรุดโทรม เริ่มเป็นศูนย์กลางของคนติดเฮโรอีน, พวกพังก์ และ คนแอบอาศัยในอาคารร้าง ก่อนที่ต่อมาจะเริ่มมีการพัฒนาพื้นที่โดยรอบจนกลายเป็นแหล่งวัฒนธรรม เช่นเดียวกับพื้นที่ทางตะวันตกของคร็อยซ์บวร์ค ในปี 2002 ได้มีการด่อสร้างโดมแบบอาร์ตนูโว ลักษณะคล้ายกับโดมเดิมที่มีอยู่มาก่อนถูกทิ้งระเบิดในสงครามโลกครั้งที่สอง ผลงานโดยเครแมร์ อุนด์ โวล์ฟเฟินชไทน์[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Alle Zielorte". Verkehrsverbund Berlin-Brandenburg. 1 January 2021. p. 64. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-18. สืบค้นเมื่อ 5 May 2021.
  2. J. Meyer-Kronthaler. Berlins U-Bahnhöfe. be.bra Verlag (1996)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]