ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
McVega-01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎ประวัติ: กูทำเอง สู้ๆน่ะ
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด เป็นการ์ดเกมที่ร่วมมือกันระหว่างบุชิโรดและนักเขียนการ์ตูนแนวการ์ดเกมชื่อดัง อากิระ อิโตะ และ ซาโตชิ นาคามุระ โดยมีแนวคิดสร้างจินตนาการตัวละครจากการ์ดเกม และได้ประสบความสำเร็จในประเทศญี่ปุ่น และขยายการผลิตและจำหน่ายในต่างประเทศ และมีการจัดงานแข่งอย่างเป็นทางการทั่วโลก และมีสื่อภาพยนตร์อะนิเมะ, มังงะและเกม
การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด เป็นการ์ดเกมที่ร่วมมือกันระหว่างบุชิโรดและนักเขียนการ์ตูนแนวการ์ดเกมชื่อดัง อากิระ อิโตะ และ ซาโตชิ นาคามุระ โดยมีแนวคิดสร้างจินตนาการตัวละครจากการ์ดเกม และได้ประสบความสำเร็จในประเทศญี่ปุ่น และขยายการผลิตและจำหน่ายในต่างประเทศ และมีการจัดงานแข่งอย่างเป็นทางการทั่วโลก และมีสื่อภาพยนตร์อะนิเมะ, มังงะและเกมกากเว็บกาก 555+


== กฎการเล่น ==
== กฎการเล่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:09, 31 สิงหาคม 2560

การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด (ญี่ปุ่น: カードファイト!! ヴァンガード - Kādofaito!! Vangādo ทับศัพท์จาก CARDFIGHT!! Vanguard) เป็นเทรดดิ้งการ์ดเกมที่ผลิตโดยบุชิโรด

ประวัติ

การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด เป็นการ์ดเกมที่ร่วมมือกันระหว่างบุชิโรดและนักเขียนการ์ตูนแนวการ์ดเกมชื่อดัง อากิระ อิโตะ และ ซาโตชิ นาคามุระ โดยมีแนวคิดสร้างจินตนาการตัวละครจากการ์ดเกม และได้ประสบความสำเร็จในประเทศญี่ปุ่น และขยายการผลิตและจำหน่ายในต่างประเทศ และมีการจัดงานแข่งอย่างเป็นทางการทั่วโลก และมีสื่อภาพยนตร์อะนิเมะ, มังงะและเกมกากเว็บกาก 555+

กฎการเล่น

ผู้เล่นแข่งได้ 2 คนโดยเล่นเพียง 1 ต่อ 1 และมีกองการ์ดจำนวน 50 ใบพอดี

ในการแข่งผู้เล่นทั้งสองต้องเลือกจากการ์ดเกรด 0 ซึ่งเป็นเกรดเริ่มต้นจากนั้น สับกองการ์ดแล้วหยิบการ์ด 5 ใบ หากการ์ดใบไหนยังไม่พร้อมใช้สามารถเปลี่ยนการ์ดในมือได้และสับกองการ์ดอีกครั้งตามด้วยจำนวนการ์ดที่ได้เลือกเปลี่ยน แต่สามารถทำได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น จากนั้นผู้เล่นทั้งสองเปิดการ์ดแวนการ์ดเซอร์เคิล ซึ่งหากผู้เล่นคนใดคนนึงเริ่มเล่นก่อนก็สามารถหยิบการ์ดได้และไรด์ยูนิตแวนการ์ดได้ หากมีการ์ดที่มีเกรด 1 ก่อนและสามารถไรด์บนเรียการ์ดตามจำนวนเกรดที่ไรด์ลงไป ในเทิร์นแรกผู้เล่นยังไม่สามารถใช้โจมตีได้แต่ในเทิร์นที่ 2 เป็นต้นไปจะสามารถโจมตีได้ และหากผู้เล่นไม่ป้องกันจะโดนดาเมจ ให้นำการ์ดลงดาเมจโซนไป 1 ใบ หากผู้เล่นฝ่ายใด มีการ์ดในดาเมจโซนถึง 6 ใบ ผู้เล่นคนนั้นจะแพ้ทันที

ในการเรียกยูนิตนั้นจะมีแบบต่างๆได้แก่ ไรด์ ใช้ในการอัพเกรดในแวนการ์ดเซอร์เคิล และ คอล ใช้ในการเรียกเรียร์การ์ดลงมาในสนาม ทั้งแถวหน้าและแถวหลัง

ศัพท์จากเกม

กองการ์ด
ในกองการ์ดของผู้เล่นจำเป็นต้องมีการ์ดทั้งหมด 50 ใบพอดี ห้ามขาด ห้ามเกิน และไม่สามารถใส่การ์ดที่มีชื่อซ้ำกันมากกว่า 4 ใบได้อย่างเด็ดขาด และในกองการ์ดจำเป็นต้องมีทริกเกอร์ยูนิต 16 ใบเท่านั้น ยกเว้นฮีลทริกเกอร์ที่ต้องใส่ได้ไม่เกิน 4 ใบ อีกทั้งสามารถใส่การ์ดที่มีความสามารถ เซนทิเนล(พิทักษ์) ได้ไม่เกิน 4 ใบ เช่นกัน
การ์ดบนมือ
การ์ดบนมือเริ่มต้น จั่วการ์ด 5 ใบ และสามารถเปลี่ยนอีกครั้งได้เพียงครั้งเดียว
สนาม
ในสนามของผู้เล่นจะมีเซอร์เคิลจำนวน 7 วงคือแวนการ์ดเซอร์เคิล 1 วง, เรียร์การ์ดเซอร์เคิล 5 วง และ การ์เดี้ยนเซอร์เคิล 1 วง ซึ่งจะทำหน้าที่แตกต่างกัน
แวนการ์ด
การ์ดของผู้เล่นที่เรียกในแวนการ์ดเซอร์เคิล
ไรด์
การนำยูนิทที่มีเกรดเท่ากันหรือสูงกว่าแวนการ์ดเดิม 1 เกรดทำการวางลงบนช่องแวนการ์ดเซอร์เคิลเพื่อเป็นแวนการ์ดตัวใหม่
เรียร์การ์ด
การ์ดที่อยู่ในช่องเรียร์การ์ดเซอเคิลเป็นเหมือนพวกพ้องที่ช่วยกันต่อสู้
คอล
การเรียกยูนิทจากบนมือลงช่องเรียร์การ์ดเซอร์เคิล
ซูพีเรียร์ไรด์ / ซูพีเรียร์คอล
การเรียกการ์ดแบบพิเศษที่อยู่นอกเหนือการไรด์หรือการคอลแบบปกติ
ครอสไรด์
การนำยูนิทที่มีความสามารถเพิ่มพลังโจมตีอีก 2000 ทุกเทิร์นเมื่อในโซลมีการ์ดที่ติดชื่อ
การ์เดี้ยน
ใช้เรียกการ์ดที่วางลงช่องการ์เดี้ยนเซอเคิล โดยใช้พลังจาก Shield มาเป็นพลังป้องกันตอนถูกโจมตี
เซนทิเนล (守護者(センチネル))
เพอร์เฟคการ์ด
การ์ดที่มีความสามารถดังนี้ "เมื่อทิ้งการ์ดแคลนเดียวกัน 1 ใบ ถ้าแวนการ์ดเป็นแคลนเดียวกับเพอร์เฟคการ์ด จะทำให้การต่อสู้นั้นไม่ถูกฮิต"
เพอร์เฟคการ์ด G
คล้ายคลึงกับเพอร์เฟคการ์ดรุ่นแรก แต่ได้รับความสามารถเพิ่มขึ้น คือ แวนการ์ดไม่จำเป็นต้องเป็นแคลนเดียวกับเพอร์เฟคการ์ด ก็สามารถยกเลิกการโจมตีนั้นได้ และบางใบจะมีความสามารถเพิ่มอีกว่า "ถ้ามีเพอร์เฟคการ์ดที่ติดชื่อเดียวกับใบนี้อยู่ในดรอปโซน หงาย 1 ดาเมจ"
ควินเทดวอลล์
การ์ดที่มีความสามารถดังนี้ "เคาน์เตอร์บลาส 1 เมื่อการ์ดใบนี้ลงช่องการ์ดเดียนจากบนมือ ทำการเปิดการ์ดใบบนสุดจากองการ์ด 5 ใบ จากนั้นคอลลงช่องการ์เดี้ยนเซอร์เคิล"
ออกจากสนาม
ยูนิตที่โดนโจมตี, ป้องกัน หรือ ถูกความสามารถของยูนิตของฝ่ายตรงข้ามจะอยู่ในดรอปโซน
ลิมิตเบรก
ใช้เรียกความสามารถมารถของยูนิทที่จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการ์ดในดาเมจโซน 4 ใบขึ้นไป
อัลติเมทเบรก
ใช้เรียกความสามารถมารถของยูนิทที่จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการ์ดในดาเมจโซน 5 ใบ
เจนเนอเรชั่นเบรก
ใช้เรียกความสามารถของยูนิทที่จะเกิดขึ้นได้เมื่อใน G โซนมีการ์ดหงายหน้าอยู่ เช่น เจนเนอร์เรชั่นเบรก 1 จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการ์ดหงายหน้าอยู๋ในG โซน 1 ใบ
เบรกไรด์
ใช้เรียกความสามารถของยูนิทที่มีความสามารถลิมิตเบรกที่จะทำการบวกพลัง 10000 ให้ตัวที่ตัวนี้ถูกไรด์ทับ และจะได้เอฟเฟคเพิ่มขึ้น
ครอสเบรกไรด์
เป็นการครอสไรด์พร้อมกับเบรกไรด์
โซล
การ์ดที่อยู่ใต้แวนการ์ด ซึ่งจะเป็นการ์ดที่ลงไรด์แล้วถูกทับหรือการ์ดที่มีความสามารถในการเพิ่มโซลจากบนกองการ์ด
ผู้เริ่มต้น (先駆, Forerunner)
เป็นความสามารถของยูนิตแวนการ์ดเกรด 0 จากช่องแวนการ์ดเซอร์เคิล หากไรด์ในแวนการ์ดที่เป็นแคลนเดียวกัน จะมีความสามารถพิเศษคือจะสามารถเรียกลงมาจากเรียร์การ์ดได้
ผู้นำ (盟主, Lord)
เป็นความสามารถของยูนิตเกรด 3 หรือ 4 โดยมีความสามารถหลักๆคือ หากยูนิตใดไม่ตรงกับแคลนที่มีความสามารถนี้จะไม่สามารถโจมตีได้
ดาเมจโซน (ダメージゾーン)
แถบทางซ้ายของสนาม เป็นเหมือนพลังชีวิตของเรา หากถูกโจมตีแบบธรรมดา 1 ครั้ง นำการ์ดใบบนสุดของเด็ค 1 ใบลงช่องดาเมจโซน
ดรอปโซน (ドロップゾーン)
เป็นกองของการ์ดที่ถูกนำออกจากสนาด ทั้งจากการที่เรียร์การ์ดถูกโจมตี เรียร์การ์ดถูกรีไทร์ โซลบลาส ฮีลดาเมจ หรือทิ้งการ์ดจากบนมือ
ไบนด์โซน (バインドゾーン)
อยู่นอกจากช่องของสนาม เป็นส่วนที่ถูกนำออกไปจากเอฟเฟคของการ์ดให้ถูกไบด์
คอสท์ (コスト)
ค่าที่ต้องจ่ายเพื่อสั่งงานเอฟเฟคบางอย่าง
เคาวน์เตอร์บลาสต์
ค่าคอสท์แบบหนึ่ง ใช้งานโดยคว่ำหน้าการ์ดในดาเมจโซนที่หงายหน้าอยู่
โซลชาร์จ
ค่าคอสต์แบบหนึ่ง ใช้งานโดยนำการ์ดใบบนสุดของเด็คของสู่โซล
โซลบลาสต์
ค่าคอสต์แบบหนึ่ง ใช้งานโดยในการ์ดจากในโซลลงสู่ดรอปโซน
เรสท์ (レスト)
เป็นการเปลิ่ยนทิศจากแนวตั้งเป็นแนวนอน อาจเกิดจากขึ้นหลังการโจมตีเสร็จ หรือจากเอฟเฟคการ์ด
แสตนด์ (スタンド)
เป็นการเปลิ่ยนทิศจากแนวนอนเป็นแนวตั้ง อาจเกิดจากขึ้นในช่วงแสตนบายเฟส หรือจากแสตนทริกเกอร์
ระงับ (拘束, Restraint)
เป็นความสามารถของการที่จะไม่ตกเป็นเป้าหมายของเอฟเฟคการ์ดอื่นๆ
ไบนด์ (バインド)
ใช้ความสามารถให้การ์ดถูกออกนอกสนาม
ล็อก (呪縛(ロック))
ใช้เรียกความสามารถของยูนิทที่อยู่ในสนามไม่สามารถต่อสู้หรือป้องกันได้ในเทิร์นของผู้เล่น และปลดล็อกได้หลังจากจบเทิร์นของผู้เล่นที่มียูนิทที่ถูกล็อก
โอเมกาล็อก (Ω呪縛(オメガロック))
เป็นการล็อกที่นานกว่าปกติ 1 เทิร์น คือ ล็อก 2 เทิร์น
อันล็อก (解呪(アンロック))
เป็นความสามารถที่ทำให้การ์ดที่ล็อกอยู่ สามารถหงายหน้ากลับมาสภาพเดิมได้
ซีคเมท
เป็นเอฟเฟคพิเศษของลีเจี้ยน โดยนำการ์ดจากในดรอปโซน 4 ใบกลับเข้ากองการ์ด แล้วหาเมดที่เป็นยูนิดเกรด 2 หรือเกรด 3 มาลงช่องแวนการ์ด
ดีลีท
เป็นความสามารถที่ทำให้แวนการ์ดของผู้ที่โดนสกิลหงายหน้าไปอีกด้านนึง แวนการ์ดที่โดนความสามารถนี้เข้าไป จะสูญเสียสกิลทั้งหมดไปและพลังโจมตีจะกลายเป็น 0 โดยจะปลดดีลีทเมื่อจบเทิร์นของผู้เล่นที่แวนการ์ดถูกดีลีท แต่ถ้าผู้เล่นที่โดนความสามารถนี้เข้าไปมีเกรด 3 อยู่ในมือก็สามารถ Ride ใหม่ในเทิร์นตัวเองได้เลย
สไตรด์ (超越(ストライド))
G โซน
ฮาร์ทการ์ด
เป็นความสามารถของ G ยูนิต ที่จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อชื่อการ์ดเกรด 3 นั้นเป็นชื่อที่ตัวยูนิตต้องการ ซึ่งจะทำให้สกิลทำงานได้ แต่ถ้าการ์ดไม่ได้มีชื่อที่ G ยูนิต ต้องการ สกิลก็จะไม่ทำงาน
G อาชิสท์
เป็นความสามารถที่ใช้ได้ก็ต่อเมื่อในมือของผู้เล่นไม่มีการ์ดเกรดที่มากกว่าแวนการ์ดมาไรด์ โดยผู้เล่นต้องแสดงการ์ดในมือทั้งหมดให้อีกฝ่ายเห็นก่อน จากนั้นก็เปิดการ์ด 5 ใบบนสุด ถ้าเจอการ์ดที่มีเกรดมากกว่าแวนการ์ด สามารถนำมาไรด์ ได้ จากนั้นผู้เล่นต้องนำการืดในมือ 2 ใบ และ G Unit 2 ใบออกจากเกม (การ์ดที่ออกจากเกมจะไม่สามารถนำมาใช้ได้อีกเลยจนกว่าการแข่งจะจบ) แต่ถ้าไม่เจอการ์ดที่เกรดมากกว่าก็นำการ์ด 5 ใบ ที่เปิดมากลับเข้าเด้คและสลับการ์ดใหม่
เจเนอเรชันสไตรด์
♪♪ (ฮาร์โมนี)
เรซิส (抵抗)

ข้อมูลการ์ด

ยูนิต
เกรด
แรร์ริตี
สตาร์ทสเตป
พลัง
ชิลด์
คริติคอล
สกิลไอคอน
บูสท์
อินเตอร์เซปต์
ทวินไดรฟ์
ทริปเปิลไดรฟ์
แคลน
รอยัล พาราดิน
คาเงโร่
โอราเคิล ทิงค์ แทงค์
โนวา แกรปเปอร์
ดาร์ค อิเรกูลาร์ส
สไปค์บราเธอร์ส
เมก้าโคโลนี่
ทาจิคาเสะ
นูบาทาบะ
แกรนบลู
เบอร์มิวด้า △ (ไทรแองเกิล)
เกรท เนเจอร์
เพลมูน
ไดเมนชั่น โพริส
ชาโดว์ พาราดิน
มุราคุโมะ
เนโอ เนคตา
โกลด์ พาราดิน
นารุคามิ
แองเจิล ฟีเธอร์
อควาฟอร์ซ
เจเนซิส
ลิงก์ โจ๊กเกอร์
เกียร์ โครนิเคิล
เครเอเลเมนทัล
เอทราเจอร์
เขตประเทศ
ยูไนเต็ดแซงทิวรี่
ดราก้อนเอมไพร์
สตาร์เกท
ดาร์คโซน
เมกาลานิคา
ซู

ความสามารถต่างๆ ของทริกเกอร์

ทริกเกอร์ยูนิต เป็นการ์ดยูนิตที่สามารถจะทำงานต่อเมื่อเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างคือช่วงไดร์ฟเช็คกับดาเมจเช็ค ซึ่งการเช็คทริกเกอร์ทำได้โดยการแสดงการ์ดใบบนสุดของกองการ์ดของผู้เล่น หากการกระทำนั้นแสดงทริกเกอร์ยูนิต ทริกเกอร์นั้นจะต้องทำงานทันที หลังจากการทำงานของทริกเกอร์ในดาเมจเช็ค การ์ดนั้นจะถูกส่งลงดาเมจโซนของผู้เล่นแบบหงายหน้า แต่ในไดร์ฟเช็ค การ์ดนั้นจะขึ้นมือผู้เล่นแทน มีอีกหลายกรณีที่จะต้องทำการเช็คทริกเกอร์หลายครั้ง ในสถานะการณ์เหล่านั้น ทริกเกอร์ที่เช็คเจอจะต้องทำงานให้เสร็จสิ้นก่อนทำการเช็คการ์ดใบถัดไป และเพิ่มค่าพลังโจมตีเป็น 5000 ให้กับยูนิตของผู้เล่น และความสามารถของทริกเกอร์ต่างๆจะแตกต่างกันไป โดยทริกเกอร์ยูนิตจะมี 4 แบบคือ

ดรอว์ทริกเกอร์
เป็นความสามารถในการหยิบการ์ดจากกองการ์ดบนสุด 1 ใบ
คริติคอลทริกเกอร์
เป็นความสามารถในการเพิ่มคริติคอลของยูนิตในสนามโดยจะเพิ่มเพียงแค่ 1 ยูนิตต่อคริติคอลทริกเกอร์ที่เปิดออกมา
สแตนด์ทริกเกอร์
เป็นความสามารถในการให้เรียร์การ์ดยูนิตที่เรสกลับมาสแตนด์บนสนาม
ฮีลทริกเกอร์
เป็นความสามารถในการลดดาเมจโซนของผู้เล่นที่อยู่ในช่วงไดร์ฟเช็คหรือดาเมจเช็ค

จังหวะการเล่น

ในการเล่นการ์ดไฟท์!! แวนการ์ดจากจะมีลำดับการเล่นแบ่งได้เป็น 6 สเตปไล่ไปดังต่อไปนี้
แสตนเฟสต์
ทำการแสตนยูนิทที่เรสทั้งหมด
ดรอว์เฟส
จั่วการ์ดจากกอง 1 ใบขึ้นมือ
ไรด์เฟส
ทำการไรด์แวนการ์ดใบใหม่(สามารถข้ามเฟสนี้ได้ถ้าหากไม่ต้องการไรด์ยูนิท)
สไตร์ดเฟส
ทำการทิ้งการ์ดจากมือให้ได้เกรดรวม 3 ขึ้นไป(กี่ใบก็ได้)จากนั้นนำ G ยูนิท ที่คว่ำอยู่ในช่อง G โซน 1 ใบมาสไตร์คบนแวนการ์ด
เมนเฟส
ทำการคอลยูนิทต่างๆหรือใช้เอฟเฟคของการ์ด
แบทเทิลเฟส
ทำการโจมตียูนิทอีกฝ่าย
เอนด์เฟส
จบเทิร์นของผู้เล่นคนหนึ่งและเปลี่ยนไปหาผู้เล่นอีกคนหนึ่ง

สื่อต่างๆ

การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด ได้ถูกทำในรูปแบบสื่อต่างๆ เพื่อขยายการตลาดสินค้าให้กับผู้ชม โดยถูกทำสื่อรูปแบบต่างๆ ทั้งอะนิเมะ, มังงะ, เกม, ละครโทรทัศน์, ภาพยนตร์ และอื่นๆ

อะนิเมะ

การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด ได้ถูกทำเป็นอะนิเมะทางโทรทัศน์เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 2011 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ทีวีโตเกียว และได้ทำซีรีส์ใหม่ในชื่อ การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด G เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 2014

ละครโทรทัศน์

การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด ได้ถูกนำทำรูปแบบละครโทรทัศน์ตอนเดียวจบในชื่อ STAND UP! แวนการ์ด ออกอากาศเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2013

ดูเพิ่ม