ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศฟิลิปปินส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 10519794 สร้างโดย 49.228.50.222 (พูดคุย) ด้วย (mobileUndo)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
เท่
ป้ายระบุ: ถูกแทน ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{Coord|13|N|122|E|type:country_region:PH|display=title}}
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = {{lang|en|Republic of the Philippines}} <small>{{en icon}}</small><br />{{lang|fil|Republika ng Pilipinas}} <small>{{fil icon}}</small>
| conventional_long_name = สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
| common_name = ฟิลิปปินส์
| image_flag = Flag of the Philippines.svg
| flag_type = [[ธงชาติฟิลิปปินส์|ธงชาติ]]
| image_coat = Coat of arms of the Philippines.svg
| symbol_type = [[ตราแผ่นดินของฟิลิปปินส์|ตราแผ่นดิน]]
| national_motto = Maka-Diyos, Makatao, Makakalikasan, at Makabansa <br /> <small>"เพื่อพระเป็นเจ้า ประชาชน ธรรมชาติ และประเทศ"</small>
| image_map = {{Switcher|[[ไฟล์:PHL orthographic.svg|frameless]]|แสดงโลก|[[ไฟล์:Location Philippines ASEAN.svg|upright=1.15|frameless]]|แสดงแผนที่อาเซียน|default=1}}
| national_anthem = ''[[Lupang Hinirang]]''<br /><small>"แผ่นดินที่ถูกเลือก"</small><center>[[ไฟล์:Lupang Hinirang instrumental.ogg]]</center>
| official_languages = [[ภาษาฟิลิปีโน]]<br />[[ภาษาอังกฤษ]]
| languages_type = ภาษาพูด
| languages = {{hlist|[[ภาษาฟิลิปีโน]] | [[ภาษาอังกฤษ]] | [[ภาษาสเปน]] | [[ภาษามลายู]] }}
| capital = [[มะนิลา]] (''โดยนิตินัย'')<br />{{Coord|14|35|N|120|58|E|type:city}}<br />[[เมโทรมะนิลา]]{{efn|name=a| ในขณะที่มะนิลาถูกกำหนดให้เป็นเมืองหลวงของประเทศที่นั่งของรัฐบาลคือเขตเมืองหลวงแห่งชาติ หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ "[[เมโทรมะนิลา]]" ซึ่งเมืองมะนิลาถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง<ref>{{cite web|title=Presidential Decree No. 940, s. 1976 |url=https://www.officialgazette.gov.ph/1976/05/29/presidential-decree-no-940-s-1976/ |publisher=Malacanang |access-date=April 4, 2015 |location=Manila}}</ref><ref>{{cite web |url=https://quezoncity.gov.ph/index.php/about-the-city-government/background |title=Quezon City Local Government – Background |publisher=Quezon City Local Government |access-date=August 25, 2020 |archive-date=August 20, 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200820074250/https://quezoncity.gov.ph/index.php/about-the-city-government/background |url-status=dead }}</ref> สถาบันรัฐบาลแห่งชาติหลายแห่งนอกเหนือจากวังมาลากานังและหน่วยงานหรือสถาบันบางแห่งตั้งอยู่ภายในเมโทรมะนิลา}} (''โดยพฤตินัย'')
| largest_city = [[เกซอนซิตี|นครเกซอน]]<br/>{{coord|14|38|N|121|02|E|display=inline}}
| government_type = [[รัฐเดี่ยว]] [[ระบบประธานาธิบดี]] [[สาธารณรัฐ]][[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์|รัฐธรรมนูญ]]
| leader_title1 = [[ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์|ประธานาธิบดี]]
| leader_title2 = รองประธานาธิบดี
| leader_name1 = [[เฟอร์ดินานด์ มาร์กอส จูเนียร์]]
| leader_name2 = [[ซารา ดูแตร์เต]]
| area_km2 = 300,000
| area_label = ทั้งหมด
| area_rank = 72
| area_sq_mi = {{convert|{{data Philippines|pst2|total area}}|km2|sqmi|0|disp=output number only}} <!--Do not remove per [[WP:MOSNUM]]-->
| percent_water = 0.61<ref name="CIAfactbook">{{cite web |url=https://www.cia.gov/the-world-factbook/countries/philippines/ |publisher=Central Intelligence Agency |title=East & Southeast Asia :: Philippines |website=The World Factbook |location=Washington, DC |date=October 28, 2009 |access-date=November 7, 2009 }}</ref>&nbsp;(บนบก)
| area_label2 = [[รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด|พื้นที่]]
| area_data2 = 298,170
| population_estimate_year =
| population_estimate =
| population_census = {{increase}} 109,035,343<ref name=pop2020>{{cite web|url= https://psa.gov.ph/content/2020-census-population-and-housing-2020-cph-population-counts-declared-official-president|title=2020 Census of Population and Housing (2020 CPH) Population Counts Declared Official by the President|publisher=Philippine Statistics Authority}}</ref>
| population_census_year = 2020
| population_estimate_rank = 12
| population_density_km2 = 336
| population_density_sq_mi = {{Data/popdens|Philippines|comma|areaunit=sqmi}}<!--Do not remove per [[WP:MOSNUM]]-->
| population_density_rank = 47
| GDP_PPP = {{increase}} $1 ล้านล้าน<ref name="auto">{{cite news | url = https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2021/April/weo-report?c=566,&s=NGDP_RPCH,NGDPD,PPPGDP,NGDPDPC,PPPPC,&sy=2019&ey=2026&ssm=0&scsm=1&scc=0&ssd=1&ssc=0&sic=0&sort=country&ds=.&br=1 | title = World Economic Outlook database: April 2021 |newspaper = [[International Monetary Fund]] |date=April 2021 |access-date=April 6, 2021}}</ref>
| GDP_PPP_year = 2021
| GDP_PPP_rank = 29
| GDP_PPP_per_capita = {{increase}} $9,061<ref name="auto"/>
| GDP_PPP_per_capita_rank = 115
| GDP_nominal = {{increase}} $402.638 พันล้าน<ref name="auto"/>
| GDP_nominal_year = 2021
| GDP_nominal_rank = 32
| GDP_nominal_per_capita = {{increase}} $3,646<ref name="auto"/>
| GDP_nominal_per_capita_rank = 118
| Gini = 42.3 <!--number only-->
| Gini_year = 2018
| Gini_change = decrease <!--increase/decrease/steady-->
| Gini_ref = <ref name="wb-gini">{{cite web |url=http://data.worldbank.org/indicator/SI.POV.GINI/ |title=Gini Index |publisher=World Bank |access-date=March 2, 2011}}</ref>
| Gini_rank = 44
| HDI = 0.699 <!--number only-->
| HDI_year = 2021 <!-- Please use the year to which the data refers, not the publication year-->
| HDI_change = increase <!--increase/decrease/steady-->
| HDI_ref = <ref name="UNHDR">{{cite web|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr2020.pdf|title=Human Development Report 2020|language=en|publisher=[[United Nations Development Programme]]|date=December 15, 2020|access-date=December 15, 2020}}</ref>
| HDI_rank = 107
| sovereignty_type = [[เอกราช|ได้รับเอกราช]]
| sovereignty_note = จาก [[ประเทศสเปน|สเปน]] และ [[สหรัฐอเมริกา]]
| established_event1 = ประกาศ
| established_event2 = เป็นที่ยอมรับ
| established_event3 = [[รัฐธรรมนูญฟิลิปปินส์|รธน. ปัจจุบัน]]
| established_date1 = [[12 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2441]]
| established_date2 = [[4 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2489]]
| established_date3 = [[25 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2529]]
| currency = [[เปโซฟิลิปปินส์]]
| currency_code = PHP
| drives_on = ขวามือ
| time_zone = [[เวลามาตรฐานฟิลิปปินส์|PST]]
| utc_offset = +8
| cctld = [[.ph]]
| calling_code = [[+63]]
| footnotes =
}}

'''ฟิลิปปินส์''' ({{lang-en|Philippines}}; {{lang-fil|Pilipinas}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐฟิลิปปินส์''' ({{lang-en|Republic of the Philippines}}; {{lang-fil|Republika ng Pilipinas}}) เป็น[[ประเทศที่เป็นเกาะ|ประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะ]]ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตั้งอยู่ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ<ref>{{cite news|url=http://cnnphilippines.com/videos/2016/02/20/More-islands-more-fun-in-PH.html|title=More islands, more fun in PH|publisher=[[CNN Philippines]]|date=February 20, 2016|accessdate=February 20, 2016|archive-date=2018-10-07|archive-url=https://web.archive.org/web/20181007074415/http://cnnphilippines.com/videos/2016/02/20/More-islands-more-fun-in-PH.html|url-status=dead}}</ref> ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ [[ลูซอน]] [[วิซายัส]] และ[[มินดาเนา]] เมืองหลวงของประเทศคือ[[มะนิลา]] ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือ[[เกซอนซิตี|นครเกซอน]] ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของ[[เมโทรมะนิลา]]<ref>{{cite web|url=http://www.mmda.gov.ph/|title=Metro Manila Official Website|work=Metro Manila Development Authority|accessdate=December 17, 2015}}</ref> ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับ[[ทะเลจีนใต้]]ทางทิศตะวันตก [[ทะเลฟิลิปปิน]]ทางทิศตะวันออก และ[[ทะเลเซเลบีส]]ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับ[[ไต้หวัน]]ทางทิศเหนือ [[ปาเลา]]ทางทิศตะวันออก [[มาเลเซีย]]และ[[อินโดนีเซีย]]ทางทิศใต้ และ[[เวียดนาม]]ทางทิศตะวันตก

ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบ[[วงแหวนไฟ|วงแหวนแห่งไฟ]]และใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์)<ref>{{cite web|url=http://www.geoba.se/population.php?aw=world|title=Geoba.se: Gazetteer – The World – Top 100+ Countries by Area – Top 100+ By Country ()|work=geoba.se|accessdate=December 17, 2015}}</ref> และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน<ref>{{cite web|url=https://www.theguardian.com/world/2014/jul/27/philippines-chonalyn-baby-100m-population|title=Philippines joyous as baby Chonalyn's arrival means population hits 100m|work=the Guardian}}</ref><ref name="rappler.com">{{cite web|url=http://www.rappler.com/nation/64465-100-millionth-filipino-born|title=Philippine population officially hits 100 million|work=Rappler}}</ref> นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร|ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก]] นอกจากนี้ ณ ปี พ.ศ. 2556 ยังมีชาวฟิลิปปินส์อีกประมาณ 10 ล้านคนอาศัยอยู่ในต่างประเทศ<ref name="CFO2013">{{cite web|url=http://www.cfo.gov.ph/images/stories/pdf/StockEstimate2013.pdf|title=Stock Estimate of Filipinos Overseas As of December 2013|publisher=Philippine Overseas Employment Administration|accessdate=2015-09-19|archive-date=2017-02-07|archive-url=https://web.archive.org/web/20170207092932/http://www.cfo.gov.ph/images/stories/pdf/StockEstimate2013.pdf|url-status=dead}}</ref> รวมแล้วถือเป็นกลุ่ม[[การพลัดถิ่น|คนพลัดถิ่น]]ที่ใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของโลก ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมปรากฏให้เห็นตลอดทั้งหมู่เกาะ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์กลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะแห่งนี้คือ[[กลุ่มชนนิกรีโต]] ตามมาด้วย[[กลุ่มชนออสโตรนีเซียน]]ที่อพยพเข้ามาอย่างต่อเนื่อง<ref name="Dyen1965">{{cite journal |author=Isidore Dyen|authorlink=Isidore Dyen|title=A Lexicostatistical Classification of the Austronesian Languages|journal=Internationald Journal of American Linguistics, Memoir|year=1965|volume=19|pages=38–46}}</ref> มีการติดต่อแลกเปลี่ยนกับชาวจีน มลายู อินเดีย และอาหรับ จากนั้นก็เกิดนครรัฐทางทะเลขึ้นมาหลายแห่งภายใต้การปกครองของ[[ดาตู]] [[ลากัน]] [[ราจา|ราชา]] หรือ[[สุลต่าน]]

[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] ได้มาขึ้นฝั่งที่[[เกาะโฮโมนโฮน]] (ใกล้กับ[[เกาะซามาร์]]) ในปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1521) นับเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแห่งอิทธิพลและอำนาจของสเปน ในปี พ.ศ. 2085 (ค.ศ. 1542) นักสำรวจชาวสเปนชื่อ [[รุย โลเปซ เด บิยาโลโบส]] ได้ตั้งชื่อ[[เกาะซามาร์]]และ[[เกาะเลเต|เลเต]]รวมกันว่า "หมู่เกาะเฟลีเป" หรือ "อิสลัสฟิลิปินัส" ({{lang|es|Islas Filipinas}}) เพื่อเป็นเกียรติแด่[[พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน|เจ้าชายเฟลีเปแห่งอัสตูเรียส]] (ต่อมา อิสลัสฟิลิปินัสได้กลายเป็นชื่อเรียกกลุ่มเกาะทั้งหมด) ในปี พ.ศ. 2108 (ค.ศ. 1565) [[มิเกล โลเปซ เด เลกัซปี]] ได้จัดตั้งนิคมสเปนแห่งแรกบน[[เกาะเซบู]]<ref>{{cite web |url=http://www.cebucitytour.com/about-cebu/history/ |title= History of Cebu |publisher= Cebu City Tour |accessdate=February 22, 2013}}</ref> ฟิลิปปินส์กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิสเปน]]เป็นเวลานานกว่า 300 ปี ส่งผลให้ศาสนาคริสต์นิกาย[[โรมันคาทอลิก]]กลายเป็นศาสนาหลักของผู้คนในหมู่เกาะ ในช่วงเวลานี้ มะนิลามีฐานะเป็นศูนย์กลางการบริหารของจักรวรรดิสเปนใน[[เอเชีย]] และยังเป็นศูนย์กลางทางทิศตะวันตกของการค้าข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเชื่อมโยงเอเชียเข้ากับเมือง[[อากาปุลโก]]ใน[[ทวีปอเมริกา|อเมริกา]]ผ่านทาง[[เรือใบมะนิลา]]<ref name=Kane>{{cite book|last = Kane|first = Herb Kawainui|authorlink = Herb Kawainui Kane|editor = Bob Dye|chapter = The Manila Galleons|title = Hawaiʻ Chronicles: Island History from the Pages of Honolulu Magazine|volume = I|publisher = [[University of Hawaii Press]]|year = 1996|location = Honolulu|pages = 25–32|isbn = 0-8248-1829-6}}</ref>

ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 (ปีท้าย ๆ ของคริสต์ศตวรรษที่ 19) ความพยายามต่อต้านการปกครองของสเปนได้ปะทุขึ้นเป็น[[การปฏิวัติฟิลิปปินส์]] [[สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1]] ได้รับการสถาปนาขึ้นแต่ก็ดำรงอยู่ได้ไม่นาน เพราะสเปนได้ยกฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐอเมริกาหลังจากแพ้[[สงครามสเปน-สหรัฐอเมริกา]] ความไม่ลงรอยกันระหว่างรัฐบาลปฏิวัติกับสหรัฐอเมริกาก่อให้เกิด[[สงครามฟิลิปปินส์-สหรัฐอเมริกา]]อันนองเลือด โดยกองทัพสหรัฐเป็นฝ่ายมีชัย<ref name=Constantino1975/> นอกเหนือจาก[[การยึดครองฟิลิปปินส์ของญี่ปุ่น|ช่วงที่ถูกญี่ปุ่นยึดครอง]]แล้ว สหรัฐอเมริกาสามารถรักษาอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะนี้ไว้ได้จนกระทั่งหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เมื่อฟิลิปปินส์ได้รับการรับรองว่าเป็นประเทศเอกราช ตั้งแต่นั้นมา ฟิลิปปินส์ก็ประสบความวุ่นวายทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งรวมถึงการล้มล้างผู้เผด็จการโดย[[การปฏิวัติพลังประชาชน|การปฏิวัติที่ปราศจากความรุนแรง]]<ref>{{cite web|url = http://www.stuartxchange.org/DayFour.html|title = The Original People Power Revolution|accessdate = February 28, 2008|publisher = QUARTET p. 77}}</ref>

ฟิลิปปินส์เป็นสมาชิกจัดตั้ง[[องค์การสหประชาชาติ]] [[องค์การการค้าโลก]] [[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] การประชุม[[ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก]] และ[[การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก]] นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่[[ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย]]<ref>{{cite web|title = Departments and Offices|url = http://www.adb.org/about/departments-offices#tabs-0-1|website = Asian Development Bank|publisher = Asian Development Bank|accessdate = November 26, 2015|last = admin}}</ref> ปัจจุบันประเทศนี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็น[[ตลาดเกิดใหม่]] (emerging market) และเป็น[[ประเทศอุตสาหกรรมใหม่]]<ref name=goldmann11>{{cite web|url=http://www.chicagobooth.edu/alumni/clubs/pakistan/docs/next11dream-march%20'07-goldmansachs.pdf|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110719172009/http://www.chicagobooth.edu/alumni/clubs/pakistan/docs/next11dream-march%20%2707-goldmansachs.pdf|title=The N-11: More Than an Acronym – Goldman Sachs|publisher=[[The Goldman Sachs Group, Inc.]]|archivedate=2011-07-19|date=March 28, 2007|access-date=2017-04-04|url-status=live}}</ref> ซึ่งมีระบบเศรษฐกิจที่กำลังเปลี่ยนผ่านจากระบบที่พึ่งพิงภาคเกษตรกรรมเป็นระบบที่พึ่งพิงภาคบริการและภาคการผลิตมากขึ้น<ref name=CIAfactbookPhilEcon>[https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/rp.html#Econ CIA World Factbook, Philippines] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150719222229/https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/rp.html#Econ |date=2015-07-19 }}, Retrieved May 15, 2009.</ref>

== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ฟิลิปปินส์}}
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
{{โครง-ส่วน}}
[[ไฟล์:Retrato de Hernando de Magallanes.jpg|thumb|left|200px|Ferdinand Magellan]]
หลักฐานทางโบราณคดีและโบราณชีววิทยาบ่งบอกว่ามีมนุษย์[[โฮโมเซเปียนส์]] เคยอาศัยอยู่ใน[[เกาะปาลาวัน]]ตั้งแต่ประมาณ 50,000 ปีก่อน ชนเผ่าที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งมีถิ่นกำเนิดอยู่บนเกาะฟอร์โมซา (Formasa) หรือไต้หวันในปัจจุบันได้อพยพโดยทางเรือเข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะฟิลิปปินส์ และจัดตั้งเส้นทางเครือข่ายการค้ากับเอเชียอาคเนย์ส่วนที่เหลือทั้งหมดตั้งแต่ 5,000 ปีก่อนคริสตกาล สภาพดั่งเดิมของฟิลิปปินส์ อยู่ในสภาพของยุคหินใหม่ ยังไม่ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีน ดังเช่นประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชนชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเป็นชนเชื้อสายอินโดนีเซีย – มลายูซึ่งอพยพเข้ามาตั่งถิ่นฐานบริเวณเกาะต่าง ๆ ของฟิลิปปินส์ การมาตั้งถิ่นฐานนั้น มาโดยเรือเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มแยกย้ายไปตั้งหมู่บ้านเรียกว่า บารังไก (Barangay) ตามชื่อเรือที่ใช้อพยพมา มีหัวหน้าหมู่บ้านเรียกว่า ดาดู (Datu) ซึ่งเคยเป็นกัปตันเรือ การตั้งหมู่บ้านจะกระจายไปตามเกาะ ทำให้การติดต่อระหว่างกันไม่ค่อยมี ส่วนในด้านการปกครองนั้นเป็นแบบพ่อปกครองลูก โครงสร้างทางการปกครองเป็นแบบง่าย ๆ มี 4 ชนชั้นคือ ดาตู และครอบครัว ขุนนาง อิสระชน ทาส ในส่วนของกฎหมายและกฎระเบียบการปกครองนั้นยังไม่มี สถาบันที่สำคัญคือ ศาสนา ซึ่งมีพ่อมดหมอผีเป็นผู้มีอิทธิพลในสังคม จากการนับถือศาสนาเป็นแบบ นับถือภูตผี บูชาธรรมชาติ พวกเขาเชื่อว่ามีพระผู้สร้างโลกสูงสุด คือ บาฮารา (Bathala) และบาอารามีสาวก ฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว เรียกว่า ดิวาทาส (Diwatas) เป็นผู้กำหนดการประกอบพิธีบวงสรวง เทพฝ่ายดีและฝ่ายชั่วคือ พ่อมด หมอผี ว่าจะประกอบพิธีเมื่อไหร่ ที่ใด สถานที่ประกอบพิธีนั้นไม่มีเฉพาะ พ่อมด หมอผีจะเป็นผู้กำหนด ที่เป็นดังนี้เพราะสภาพภูมิศาสตร์ และสภาพธรรมชาติของหมู่เกาะ ซึ่งฟิลิปปินส์นั้นมีภัยธรรมชาติอยู่เนือง ๆ จึงทำให้พ่อมด หมอผีมีอิทธิพลต่อประชาชนมาก และมากกว่าหรือเท่ากับดาตู อีกทั้งยังได้รับค่าประกอบพิธี เครื่องเซ่นสังเวยจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ทางด้านเศรษฐกิจนั้น ประชาชนทำการเกษตรและการประมง ไม่มีการค้าขาย มีแต่การแลกเปลี่ยนสินค้า และไม่มีการใช้เงินตรา นาน ๆ ครั้งจะมีพ่อค้าต่างชาติแวะมาจอดเรือแลกเปลี่ยนสินค้า

=== ยุคของอิสลาม ===
{{โครง-ส่วน}}
นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 ศาสนาอิสลามได้แผ่เข้าสู่หมู่เกาะทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์หรือมานบูลาส แล้วครั้นถึงปี ค.ศ. 1380 ชาวมุสลิมก็สามารถสถาปนารัฐอิสลามขึ้นใน[[หมู่เกาะซูลู]] โดยมีนักเผยแผ่ศาสนาที่ชื่อ [[ชันค์ ชะรีฟ กะรีม มัคดุม]] เข้ามาเผยแผ่อิสลามในหมู่เกาะต่างๆ ของซูลู ก่อนหน้านั้นเป็นเวลานาน จนกระทั่ง ซัยยิด อบูบักร อิบนุ ชะรีฟ มุฮำหมัด อิบนิ อะลี อิบนี ซัยบิลอาบีดีน ได้เดินทางจาก[[รัฐสุลต่านยะโฮร์|รัฐสุลต่านแห่งยะโฮร์]] (Johor) มายังหมู่เกาะซูลูในราวปี ค.ศ. 1450 [[ซัยยิด อบูบักร]]ได้มาถึงซูลูหลังจากรายา บะกินดา จากมินังกะเบา สุมาตรา ได้ลงพำนัก และเผยแผ่ศาสนาอิสลามในหมู่เกาะซูลูเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว ซัยยิด อบูบักรได้สมรสกับบุตรีของรายาบะกินดา ที่มีนามว่า ประไหมสุหรี เมื่อรายาบะกินดา สิ้นชีวิต ซัยยิด อบูบักร ก็กลายเป็นผู้สืบทอดอำนาจและได้รับการขนานนามว่า [[สุลต่านแห่งซูลู]]

=== ยุคอาณานิคมสเปน ===
[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] มาถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. 1521 ([[พ.ศ. 2064]]) [[มีเกล โลเปซ เด เลกัซปี]] มาถึงฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. 1565 ([[พ.ศ. 2108]]) และตั้งชุมชน[[ชาวสเปน]]ขึ้น ซึ่งนำไปสู่การตั้งอาณานิคมในเวลาต่อมา หลังจากนั้น นักบวชศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกได้แปรศาสนาของชาวเกาะทั้งหมดให้หันมานับถือศาสนาคริสต์ ในช่วง 300 ปีนับจากนั้น กองทัพสเปนได้ต่อสู้กับเหตุการณ์กบฏต่าง ๆ มากมาย ทั้งจากชนพื้นเมืองและจากชาติอื่นที่พยายามเข้ามาครอบครองอาณานิคม ซึ่งได้แก่ [[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]] [[จีน]] [[ฮอลันดา]] [[ฝรั่งเศส]] [[ญี่ปุ่น]] และ[[โปรตุเกส]] สเปนสูญเสียไปมากที่สุดในช่วงที่อังกฤษเข้าครอบครองเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวในช่วง[[สงครามเจ็ดปี]] (Seven Years' War) หมู่เกาะฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของสเปนในฐานะอาณานิคมของ[[สเปนใหม่]] (New Spain) นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1565 (พ.ศ. 2108) ถึงปี ค.ศ. 1821 (พ.ศ. 2364) และนับจากนั้นฟิลิปปินส์ก็อยู่ใต้การปกครองของสเปนโดยตรง [[การเดินเรือมะนิลาแกลเลียน]] (Manila Galleon) จากฟิลิปปินส์ไป[[เม็กซิโก]] เริ่มต้นขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 และหมู่เกาะฟิลิปปินส์เปิดตัวเองเข้าสู่[[การค้าโลก]]ในปี ค.ศ. 1834

=== รัฐอารักขาของสหรัฐอเมริกา ===
{{โครง-ส่วน}}

== ด้านการเมืองการปกครอง ==
=== บริหารงานจากการปกครอง ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลฟิลิปปินส์}}

=== นิติบัญญัตติ ===
{{บทความหลัก|รัฐสภาแห่งฟิลิปปินส์}}

=== ตุลาการ ===
{{บทความหลัก|กฎหมายฟิลิปปินส์}}

=== สิทธิมนุษยชน ===
{{บทความหลัก|สิทธิมนุษยชนในประเทศฟิลิปปินส์}}

== การแบ่งเขตการปกครอง ==
ฟิลิปปินส์แบ่งเป็นหน่วยรัฐบาลท้องถิ่น (local government units, LGUs) โดยที่มีจังหวัดเป็นหน่วยหลัก ปัจจุบันมี '''81 จังหวัด (provinces) '''แบ่งออกเป็น '''นคร (cities) '''และ '''เทศบาล (municipalities) ''' ซึ่งหน่วยการปกครองทั้งสองยังประกอบไปด้วย '''บารังไกย์ (barangay) ''' อีกทอดหนึ่ง ถือเป็นหน่วยรัฐบาลท้องถิ่นที่เล็กที่สุด

ฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็น '''17 เขต (regions)''' ซึ่งทุกจังหวัดได้ถูกจัดอยู่ใน 16 เขตเพื่อความสะดวกในการปกครอง ยกเว้นเขตนครหลวง (National Capital Region) ที่แบ่งออกเป็นเขตพิเศษ 4 แห่ง

หน่วยงานของรัฐบาลส่วนใหญ่จะตั้งสำนักงานในแต่ละภูมิภาค เพื่อรับใช้ประชาชนในจังหวัดที่อยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ ภูมิภาคไม่มีรัฐบาลท้องถิ่นแยกต่างหาก ยกเว้น[[เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม]]และ[[เขตบริหารคอร์ดิลเลรา]]ซึ่งปกครองตนเอง ไม่ได้ให้ผู้อื่นปกครอง

=== เขตและจังหวัด ===
{{บทความหลัก|เขตของประเทศฟิลิปปินส์|จังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์}}
[[ไฟล์:Philippines, administrative divisions - th - colored.svg|left|thumb|เขตของประเทศฟิลิปปินส์|490px]]
{{แผนที่ประเทศฟิลิปปินส์}}

{|class="toccolours" style="margin:auto;background:none;text-align:left;font-size:95%;white-space:nowrap;"
! style="text-align:center;background-color:#E6CEF2;" | เขตบริหาร
! style="text-align:center;background-color:#E6CEF2;font-style:italic;" | เขตปกครองตนเอง
|-style="vertical-align:top;line-height:1.15em;"
|
{{Div col|3}}
* [[เขตอีโลโคส|อีโลโคส]] (เขตที่ 1)
* [[เขตลัมบักนางคากายัน|ลัมบักนางคากายัน]] (เขตที่ 2)
* [[เขตกิตนางลูโซน|กิตนางลูโซน]] (เขตที่ 3)
* [[เขตคาลาบาร์โซน|คาลาบาร์โซน]] (เขตที่ 4-เอ)
* [[เขตมีมาโรปา|เขตตากาล็อกตะวันตกเฉียงใต้]] (เขตมีมาโรปา)
* [[เขตบีโคล|บีโคล]] (เขตที่ 5)
* [[เขตคันลูรังคาบีซายาอัน|คันลูรังคาบีซายาอัน]] (เขตที่ 6)
* [[เขตกิตนางคาบีซายาอัน|กิตนางคาบีซายาอัน]] (เขตที่ 7)
* [[เขตซีลางังคาบีซายาอัน|ซีลางังคาบีซายาอัน]] (เขตที่ 8)
* [[เขตตังไวนางซัมบวงกา|ตังไวนางซัมบวงกา]] (เขตที่ 9)
* [[เขตฮีลากังมินดาเนา|ฮีลากังมินดาเนา]] (เขตที่ 10)
* [[เขตดาเบา|ดาเบา]] (เขตที่ 11)
* [[เขตโซกซาร์เจน|โซกซาร์เจน]] (เขตที่ 12)
* [[เขตบริหารคารากา]] (เขตที่ 13)
* [[เขตบริหารคอร์ดิลเยรา]]
* [[เมโทรมะนิลา|เขตนครหลวงแห่งชาติ]]
{{div col end}}
|
* [[เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม]]
|-
! colspan=2 style="text-align:center;background-color:#E6CEF2;" | จังหวัด
|-style="vertical-align:top;line-height:1.15em;"
| colspan=3 |
{{Div col|6}}
* [[จังหวัดกีมารัส|กีมารัส]]
* [[จังหวัดคันลูรังดาเบา|คันลูรังดาเบา]]
* [[จังหวัดคันลูรังเนโกรส|คันลูรังเนโกรส]]
* [[จังหวัดคันลูรังมินโดโร|คันลูรังมินโดโร]]
* [[จังหวัดคันลูรังมีซามิส|คันลูรังมีซามิส]]
* [[จังหวัดคากายัน|คากายัน]]
* [[จังหวัดคาตันดัวเนส|คาตันดัวเนส]]
* [[จังหวัดคาบีเต|คาบีเต]]
* [[จังหวัดคาปิซ|คาปิซ]]
* [[จังหวัดคาปูลูอังดีนากัต|คาปูลูอังดีนากัต]]
* [[จังหวัดคามีกิน|คามีกิน]]
* [[จังหวัดคาลิงกา|คาลิงกา]]
* [[จังหวัดคีรีโน|คีรีโน]]
* [[จังหวัดเคโซน|เคโซน]]
* [[จังหวัดโคตาบาโต|โคตาบาโต]]
* [[จังหวัดซอร์โซโกน|ซอร์โซโกน]]
* [[จังหวัดซัมบวงกาซีบูไก|ซัมบวงกาซีบูไก]]
* [[จังหวัดซัมบาเลส|ซัมบาเลส]]
* [[จังหวัดซามาร์|ซามาร์]]
* [[จังหวัดซารังกานี|ซารังกานี]]
* [[จังหวัดซีคีฮอร์|ซีคีฮอร์]]
* [[จังหวัดซีลางังซามาร์|ซีลางังซามาร์]]
* [[จังหวัดซีลางังดาเบา|ซีลางังดาเบา]]
* [[จังหวัดซีลางังเนโกรส|ซีลางังเนโกรส]]
* [[จังหวัดซีลางังมินโดโร|ซีลางังมินโดโร]]
* [[จังหวัดซีลางังมีซามิส|ซีลางังมีซามิส]]
* [[จังหวัดซุลตันคูดารัต|ซุลตันคูดารัต]]
* [[จังหวัดซูลู|ซูลู]]
* [[จังหวัดเซบู|เซบู]]
* [[จังหวัดตาร์ลัก|ตาร์ลัก]]
* [[จังหวัดตาวี-ตาวี|ตาวี-ตาวี]]
* [[จังหวัดตีโมกคามารีเนส|ตีโมกคามารีเนส]]
* [[จังหวัดตีโมกโคตาบาโต|ตีโมกโคตาบาโต]]
* [[จังหวัดตีโมกซัมบวงกา|ตีโมกซัมบวงกา]]
* [[จังหวัดตีโมกซูรีเกา|ตีโมกซูรีเกา]]
* [[จังหวัดตีโมกดาเบา|ตีโมกดาเบา]]
* [[จังหวัดตีโมกลาเนา|ตีโมกลาเนา]]
* [[จังหวัดตีโมกเลเต|ตีโมกเลเต]]
* [[จังหวัดตีโมกอากูซัน|ตีโมกอากูซัน]]
* [[จังหวัดตีโมกอีโลโคส|ตีโมกอีโลโคส]]
* [[จังหวัดนูเวบาบิซคายา|นูเวบาบิซคายา]]
* [[จังหวัดนูเวบาเอซีฮา|นูเวบาเอซีฮา]]
* [[จังหวัดบาซีลัน|บาซีลัน]]
* [[จังหวัดบาตังกัส|บาตังกัส]]
* [[จังหวัดบาตาเนส|บาตาเนส]]
* [[จังหวัดบาตาอัน|บาตาอัน]]
* [[จังหวัดบีลีรัน|บีลีรัน]]
* [[จังหวัดบูคิดโนน|บูคิดโนน]]
* [[จังหวัดบูลาคัน|บูลาคัน]]
* [[จังหวัดบูลูบุนดูคิน|บูลูบุนดูคิน]]
* [[จังหวัดเบงเก็ต|เบงเก็ต]]
* [[จังหวัดโบโฮล|โบโฮล]]
* [[จังหวัดปังกาซีนัน|ปังกาซีนัน]]
* [[จังหวัดปัมปังกา|ปัมปังกา]]
* [[จังหวัดปาลาวัน|ปาลาวัน]]
* [[จังหวัดมัสบาเต|มัสบาเต]]
* [[จังหวัดมากินดาเนา|มากินดาเนา]]
* [[จังหวัดมารินดูเค|มารินดูเค]]
* [[จังหวัดรีซัล|รีซัล]]
* [[จังหวัดโรมโบลน|โรมโบลน]]
* [[จังหวัดลัมบักนางโคมโปสเตลา|ลัมบักนางโคมโปสเตลา]]
* [[จังหวัดลากูนา|ลากูนา]]
* [[จังหวัดลาอูนีโยน|ลาอูนีโยน]]
* [[จังหวัดเลเต|เลเต]]
* [[จังหวัดอักลัน|อักลัน]]
* [[จังหวัดอันตีเค|อันตีเค]]
* [[จังหวัดอัลไบ|อัลไบ]]
* [[จังหวัดอาบรา|อาบรา]]
* [[จังหวัดอาปาเยา|อาปาเยา]]
* [[จังหวัดอีซาเบลา|อีซาเบลา]]
* [[จังหวัดอีฟูเกา|อีฟูเกา]]
* [[จังหวัดอีโลอีโล|อีโลอีโล]]
* [[จังหวัดเอาโรรา|เอาโรรา]]
* [[จังหวัดฮีลากังคามารีเนส|ฮีลากังคามารีเนส]]
* [[จังหวัดฮีลากังซัมบวงกา|ฮีลากังซัมบวงกา]]
* [[จังหวัดฮีลากังซามาร์|ฮีลากังซามาร์]]
* [[จังหวัดฮีลากังซูรีเกา|ฮีลากังซูรีเกา]]
* [[จังหวัดฮีลากังดาเบา|ฮีลากังดาเบา]]
* [[จังหวัดฮีลากังลาเนา|ฮีลากังลาเนา]]
* [[จังหวัดฮีลากังอากูซัน|ฮีลากังอากูซัน]]
* [[จังหวัดฮีลากังอีโลโคส|ฮีลากังอีโลโคส]]
{{div col end}}
|}

== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Relief Map Of The Philippines.png|thumb|270px|แผนที่ภูมิประเทศของกลุ่มเกาะฟิลิปปินส์]]
ฟิลิปปินส์เป็น[[กลุ่มเกาะ]]ที่ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ<ref>{{cite news|last1=Mayuga|first1=Jonathan|title=Namria 'discovers' 400 previously 'unknown' PHL islands using IfSAR|url=http://www.businessmirror.com.ph/namria-discovers-400-previously-unknown-phl-islands-using-ifsar/|accessdate=February 12, 2016|publisher=BusinessMirror|date=February 10, 2016}}</ref> มีเนื้อที่ทั้งหมด (รวมพื้นผิวแหล่งน้ำภายในแผ่นดิน) ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์)<ref>{{cite web|url=http://archives.pia.gov.ph/?m=6&subject=philinfo&item=geography|title=General Profile of the Philippines : Geography|publisher=Philippine Information Agency}}</ref> ชายฝั่งทะเลยาว 36,289 กิโลเมตร (22,549 ไมล์) ทำให้ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก<ref name=About /><!--says the coastline is 17,500 km--><ref name=CIAfields><!--says the coastline is 36,289 km and that only Canada, Russia, Indonesia, and Greenland have longer coastlines-->Central Intelligence Agency. (2009). [https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/fields/2060.html "Field Listing :: Coastline"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170716042040/https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/fields/2060.html |date=2017-07-16 }}. Washington, D.C.: Author. Retrieved 2009-11-07.</ref> ฟิลิปปินส์มีที่ตั้งซึ่งกำหนดโดยพิกัดภูมิศาสตร์คือ ระหว่างลองจิจูด 116° 40' ตะวันออก ถึง 126° 34' ตะวันออก กับละติจูด 4° 40' เหนือ ถึง 21° 10' เหนือ มีอาณาเขตจรด[[ทะเลฟิลิปปิน]]ทางทิศตะวันออก<ref>[https://web.archive.org/web/20090820123304/http://encarta.msn.com/encyclopedia_761580288/Philippine_Sea.html Philippine Sea], [http://encarta.msn.com/ encarta.msn.com] {{webarchive|url=https://www.webcitation.org/5kvWPcsSb?url=http://encarta.msn.com/ |date=October 31, 2009 }} (archived from [http://encarta.msn.com/encyclopedia_761580288/Philippine_Sea.html the original] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090820123304/http://encarta.msn.com/encyclopedia_761580288/Philippine_Sea.html |date=August 20, 2009 }} on August 20, 2009).</ref> จรด[[ทะเลจีนใต้]]ทางทิศตะวันตก<ref>[https://web.archive.org/web/20130213111846/http://focustaiwan.tw/ShowNews/WebNews_Detail.aspx?ID=201302090013&Type=aIPL "U.S. report details rich resources in South China Sea."] (archived from [http://focustaiwan.tw/ShowNews/WebNews_Detail.aspx?Type=aIPL&ID=201302090013 the original] on 2013-02-133)</ref> และจรด[[ทะเลเซเลบีส]]ทางทิศใต้<ref>C.Michael Hogan. 2011. [http://www.eoearth.org/article/Celebes_Sea?topic=49523 ''Celebes Sea''. Encyclopedia of Earth. Eds. P.Saundry & C.J.Cleveland. National Council for Science and the Environment. Washington DC]</ref> [[เกาะบอร์เนียว]]<ref>{{cite web|url=https://www.pbs.org/edens/borneo/awesome.html|title=An Awesome Island|work=Borneo: Island in the Clouds|publisher=PBS|accessdate=November 11, 2012}}</ref> ตั้งอยู่ห่างออกไปไม่กี่ร้อยกิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และ[[ไต้หวัน]]ตั้งอยู่ทางทิศเหนือโดยตรง [[หมู่เกาะโมลุกกะ]]และ[[เกาะซูลาเวซี]]ตั้งอยู่ทางทิศใต้-ตะวันตกเฉียงใต้ และ[[ปาเลา]]ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่เกาะ<ref name="About">{{cite web|date=March 9, 2009 |url=http://www.gov.ph/aboutphil/general.asp |archiveurl=https://web.archive.org/web/20090309081519/http://www.gov.ph/aboutphil/general.asp |archivedate=March 9, 2009 |title=General Information |accessdate=September 21, 2014 }}. (older version – as it existed in 2009 – during the presidency of [[Gloria Macapagal Arroyo]]), ''[http://www.gov.ph/ The Official Government Portal of the Republic of the Philippines] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070930195314/http://www.gov.ph/ |date=September 30, 2007 }}''.</ref>

เกาะต่าง ๆ ซึ่งเต็มไปด้วยภูเขาส่วนใหญ่มีต้นกำเนิดจากภูเขาไฟและถูกปกคลุมด้วย[[ป่าดิบชื้น]] ภูเขาที่สูงที่สุดคือ[[ภูเขาอาโป]] มีความสูงถึง 2,954 เมตร (9,692 ฟุต) จากระดับน้ำทะเลและตั้งอยู่ที่เกาะมินดาเนา<ref>{{cite web|url=http://www.peaklist.org/WWlists/ultras/philippines.html|title=Philippines Mountain Ultra-Prominence|publisher=peaklist.org|accessdate=June 19, 2009}}</ref><ref>(2011-04-06). [https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/rp.html "The World Factbook – Philippines"] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150719222229/https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/rp.html |date=July 19, 2015 }}. Central Intelligence Agency. Retrieved on March 14, 2011.</ref> ร่องลึกแกละทีอาใน[[ร่องลึกฟิลิปปินส์]]เป็นจุดที่ลึกที่สุดของประเทศและลึกที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ของโลก ร่องลึกดังกล่าวตั้งอยู่ใน[[ทะเลฟิลิปปิน]]<ref>{{cite book |url=http://www.biodiversitylibrary.org/item/31710 |title=The Galathea Deep Sea Expedition, 1950–1952, described by members of the expedition |last=Bruun |first=Anton Frederick |publisher=Macmillian, New York |year=1956}}</ref>

แม่น้ำที่ยาวที่สุดคือ[[แม่น้ำคากายัน]]ในภาคเหนือของ[[เกาะลูซอน]]<ref name="eearth">{{cite web|url=http://www.eoearth.org/article/Water_profile_of_Philippines#River_Basins_and_Water_Resources|title=Water profile of Philippines|last=Kundel|first=Jim|date=June 7, 2007|publisher=Encyclopedia of Earth|accessdate=September 30, 2008}}</ref> [[อ่าวมะนิลา]] (ชายฝั่งของอ่าวเป็นที่ตั้งของกรุงมะนิลาเมืองหลวง) เชื่อมต่อกับ[[ลากูนาเดบาอี]] (ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในฟิลิปปินส์) ผ่าน[[แม่น้ำปาซิก]] [[อ่าวซูบิก]] [[อ่าวดาเบา]] และ[[อ่าวโมโร]]เป็นอ่าวอื่น ๆ ที่สำคัญ [[ช่องแคบซันฮัวนีโค]]แยก[[เกาะซามาร์]]และ[[เกาะเลเต]]ออกจากกัน แต่ก็มี[[สะพานซันฮัวนีโค]]ข้ามเหนือช่องแคบ<ref>Republic of the Philippines. Department of Tourism. [c. 2008]. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20120427094345/http://www.travelmart.net/philippines/leyte-hotels-resorts.html |date=April 27, 2012 |title=Leyte is Famous for... }} (archived from [http://www.travelmart.net/philippines/leyte-hotels-resorts.html the original] on April 27, 2012). Retrieved March 21, 2010 from www.travelmart.net.</ref>

เนื่องจากตั้งอยู่บนขอบตะวันตกของ[[วงแหวนไฟ]]แปซิฟิก ฟิลิปปินส์จึงต้องเผชิญกับกิจกรรม[[แผ่นดินไหว]]และภูเขาไฟบ่อยครั้ง [[เนินใต้สมุทรเบ็นนัม]]ในทะเลฟิลิปปิน (ทางทิศตะวันออกของกลุ่มเกาะ) เป็นภูมิภาคใต้สมุทรที่ยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในเขต[[การมุดตัว|มุดตัว]]ของ[[เปลือกโลก]]<ref name="CLCS submissions">{{cite web |url=https://www.un.org/Depts/los/clcs_new/commission_submissions.htm |title=Submissions, through the Secretary-General of the United Nations, to the Commission on the Limits of the Continental Shelf, pursuant to article 76, paragraph 8, of the United Nations Convention on the Law of the Sea of 10 December 1982 |publisher=United Nations Commission on the Limits of the Continental Shelf |date=May 28, 2009 |accessdate=May 29, 2009}}</ref> มีการตรวจพบแผ่นดินไหวประมาณ 20 ครั้งต่อวัน แต่การสั่นสะเทือนส่วนใหญ่เบาเกินกว่าที่มนุษย์จะรู้สึกได้ แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ครั้งล่าสุดเกิดขึ้นที่เกาะลูซอนเมื่อปี [[แผ่นดินไหวในลูซอน พ.ศ. 2533|ค.ศ. 1990]]<ref>La Putt, Juny P. [c. 2003]. [http://www.cityofpines.com/baguioquake/quake.html ''The 1990 Baguio City Earthquake''] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150212175238/http://www.cityofpines.com/baguioquake/quake.html |date=2015-02-12 }}. Retrieved December 20, 2009 from [http://www.cityofpines.com/ The City of Baguio] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170918084421/http://www.cityofpines.com/baguioquake/quake.html |date=2017-09-18 }} Website.</ref>

ในฟิลิปปินส์มี[[ภูเขาไฟมีพลัง|ภูเขาไฟที่มีพลัง]]อยู่หลายลูก เช่น [[ภูเขาไฟมาโยน]] [[ภูเขาปีนาตูโบ]] [[ภูเขาไฟตาอัล]] เป็นต้น การปะทุของภูเขาปีนาตูโบในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1991 ถือเป็นการปะทุที่รุนแรงที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref name = Pinatubo1991>{{cite web|author = Newhall, Chris |author2 = James W. Hendley II |author3 = Peter H. Stauffer |last-author-amp = yes |title = The Cataclysmic 1991 Eruption of Mount Pinatubo, Philippines (U.S. Geological Survey Fact Sheet 113-97) |url = http://pubs.usgs.gov/fs/1997/fs113-97/ |archiveurl = https://web.archive.org/web/20130825233934/http://pubs.usgs.gov/fs/1997/fs113-97/ |archivedate = August 25, 2013 |publisher = U.S. Department of the Interior. U.S. Geological Survey |date = February 28, 2005 |accessdate = April 9, 2007}}</ref> อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่าภูมิลักษณ์ที่โดดเด่นทุกแห่งจะมีความรุนแรงหรือมีอำนาจทำลายล้างเสมอไป มรดกที่สงบเงียบแห่งหนึ่งจากความปั่นป่วนทางธรณีวิทยาคือ[[อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา|แม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา]]ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่สำหรับ[[ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์|การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ]] นอกจากนี้ แหล่งมรดกโลกแห่งนี้ยังมีระบบนิเวศจากภูเขาสู่ทะเลที่สมบูรณ์และมีป่าไม้ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียอีกด้วย<ref>{{cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/652 |title=Puerto-Princesa Subterranean River National Park |publisher=UNESCO World Heritage Centre|accessdate=May 4, 2013}}</ref>

เนื่องจากธรรมชาติของเกาะต่าง ๆ เป็นภูเขาไฟ ฟิลิปปินส์จึงมีทรัพยากรแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ มีผู้ประมาณว่าประเทศนี้มีแหล่งแร่[[ทองคำ]]ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจาก[[ประเทศแอฟริกาใต้|แอฟริกาใต้]] และเป็นแหล่งแร่[[ทองแดง]]ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก<ref name="NYTimesMiners">{{cite news|author = Greenlees, Donald |title = Miners shun mineral wealth of the Philippines |url = https://www.nytimes.com/2008/05/14/business/worldbusiness/14iht-mine.1.12876764.html |newspaper = [[The New York Times]] |date = May 14, 2008 |accessdate = December 11, 2009}}</ref> นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วย[[นิกเกิล]] [[โครไมต์]] และ[[สังกะสี]] อย่างไรก็ตาม การจัดการที่ไม่ดี ความหนาแน่นสูงของประชากร และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมทำให้ยังไม่มีการนำทรัพยากรส่วนใหญ่ขึ้นมาใช้<ref name="NYTimesMiners"/> [[พลังงานความร้อนใต้พิภพ]]เป็นผลผลิตจากกิจกรรมภูเขาไฟที่ฟิลิปปินส์สามารถควบคุมจัดการจนได้ผลสำเร็จมากกว่า โดยในปัจจุบัน ประเทศนี้เป็นผู้ผลิตพลังงานความร้อนใต้พิภพที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของโลกรองจาก[[สหรัฐอเมริกา]] และพลังงานความร้อนใต้พิภพสามารถตอบสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าได้ถึงร้อยละ 18 ของประเทศ<ref>{{Cite news |url=https://www.nytimes.com/2008/06/29/business/worldbusiness/29iht-energy.1.14068397.html |author=Davies, Ed |author2=Karen Lema |last-author-amp=yes |title=Pricey oil makes geothermal projects more attractive for Indonesia and the Philippines |newspaper= [[The New York Times]] |date = June 29, 2008 |accessdate=December 18, 2009}}</ref>

<gallery mode="packed-hover" caption="ภูมิลักษณ์ฟิลิปปินส์">
ไฟล์:Mount Pinatubo 20081229 01.jpg|''[[ภูเขาปีนาตูโบ]]''
ไฟล์:Bohol Hills, Chocolate Hills 3, Philippines.jpg|''[[เนินเขาช็อกโกแลต]]'' ใน[[เกาะโบโฮล]]
ไฟล์:Big lagoon entrance, Miniloc island - panoramio.jpg|''[[เอลนีโด (จังหวัดปาลาวัน)|เอลนีโด]]'' ใน[[เกาะปาลาวัน]]
ไฟล์:Taal Volcano aerial 2013.jpg|''[[ภูเขาไฟตาอัล]]'' ภูเขาไฟมีพลังที่เล็กที่สุดในโลก
ไฟล์:View south of the northern Sierra Madre from peak of Mt. Cagua - ZooKeys-266-001-g007.jpg|''[[ซีเยร์รามาเดร (ฟิลิปปินส์)|ทิวเขาซีเยร์รามาเดร]]''
ไฟล์:FvfBokod0174 03.JPG|''[[ป่าสนเขาเขตร้อนลูซอน]]''
</gallery>

=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===
[[ไฟล์:Bohol Tarsier.jpg|thumb|[[ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน]] หนึ่งใน[[ไพรเมต]]ที่เล็กที่สุด]]
ป่าดิบชื้นและชายฝั่งทะเลที่กว้างขวางของฟิลิปปินส์ทำให้กลุ่มเกาะนี้เป็นแหล่งรวมนก พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตในทะเลหลากชนิด<ref name="etravel">[http://www.etravelpilipinas.com/about_philippines/philippine_natural_resources.htm "Natural Resources and Environment in the Philippines"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090122193623/http://etravelpilipinas.com/about_philippines/philippine_natural_resources.htm |date=2009-01-22 }}. (n.d.). ''eTravel Pilipinas''. Retrieved January 22, 2009.</ref> ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสิบเจ็ดประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country)<ref name=Chanco>{{cite news|url=http://gbgm-umc.org/asia-pacific/philippines/ecophil.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20010711225954/http://gbgm-umc.org/asia-pacific/philippines/ecophil.html|archivedate=2001-07-11 |author=Chanco, Boo. |title=The Philippines Environment: A Warning |newspaper=The Philippine Star |date=December 7, 1998}} Retrieved February 15, 2010 from gbgm-umc.org.</ref><ref name="AUSGOP">{{Cite journal|url=http://www.environment.gov.au/soe/2001/publications/theme-reports/biodiversity/biodiversity01-3.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20070514125559/http://www.environment.gov.au/soe/2001/publications/theme-reports/biodiversity/biodiversity01-3.html|archivedate=May 14, 2007|title=Biodiversity Theme Report: The Meaning, Significance and Implications of Biodiversity (continued)|author = Williams, Jann|author2 = Cassia Read|author3 = Tony Norton|author4 = Steve Dovers|author5 = Mark Burgman|author6 = Wendy Proctor|author7 = Heather Anderson|last-author-amp = yes|publisher=CSIRO on behalf of the Australian Government Department of the Environment and Heritage|year=2001|isbn=0-643-06749-3|accessdate=November 6, 2009}}</ref><ref name="Carpenter">{{cite journal|author1=Carpenter, Kent E. |author2=Victor G. Springer |lastauthoramp=yes |title=The center of the center of marine shore fish biodiversity: the Philippine Islands|journal=Environmental Biology of Fishes|publisher=Springer Netherlands|date=April 2005|volume=74|issue=2|pages=467–480|doi=10.1007/s10641-004-3154-4}}</ref> เราสามารถพบสัตว์บกที่มีกระดูกสันหลังได้ถึงประมาณ 1,100 ชนิด ซึ่งรวมถึง[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]กว่า 100 ชนิด และนกกว่า 170 ชนิดที่คาดกันว่าไม่อาศัยอยู่ที่อื่น<ref name="lonelyplanet">{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=aaUR07G0yAcC|title=Philippines|author1=Rowthorn, Chris |author2=Greg Bloom |lastauthoramp=yes |edition=9th|publisher=[[Lonely Planet]]|year=2006|page=[https://books.google.com/books?id=aaUR07G0yAcC&pg=PA52 52]|isbn=1-74104-289-5}}</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีอัตราการค้นพบสูงที่สุดประเทศหนึ่งในโลก โดยมีการค้นพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ 16 ชนิดในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุนี้ อัตราสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นของฟิลิปปินส์จึงเพิ่มสูงขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มต่อไป<ref>{{cite web|url=http://www.eoearth.org/article/Biological_diversity_in_the_Philippines |title=Biological diversity in the Philippines |publisher=Eoearth.org |accessdate=May 4, 2013}}</ref> ส่วนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพื้นถิ่นฟิลิปปินส์ได้แก่ [[อีเห็นข้างลาย]] (''Paradoxurus hermaphroditus'') [[แมวดาววิซายัส]] (''Prionailurus javanensis rabori'') [[พะยูน]] (''Dugong dugon'') และ[[ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน]] (''Tarsius syrichta'') ซึ่งเกี่ยวข้องกับ[[เกาะโบโฮล]] เป็นต้น

แม้ว่าบนหมู่เกาะฟิลิปปินส์จะไม่มีผู้ล่าเหยื่อเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ แต่ก็มี[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ขนาดใหญ่อยู่บางชนิด เช่น [[วงศ์งูเหลือม|งูเหลือม]] [[งูเห่า]] รวมทั้ง[[จระเข้น้ำเค็ม]]ขนาดยักษ์ จระเข้น้ำเค็มในที่เลี้ยงตัวใหญ่ที่สุดในโลกมีชื่อว่า [[โลลอง]] ถูกจับได้ใน[[เกาะมินดาเนา]]ทางตอนใต้ของประเทศ<ref>{{cite web|title="Lolong" holds world record as largest croc in the world |url=http://www.pawb.gov.ph/index.php?option=com_content&view=article&id=480:lolong-holds-world-record-as-largest-croc-in-the-world&catid=22:news&Itemid=131 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120126140938/http://www.pawb.gov.ph/index.php?option=com_content&view=article&id=480%3Alolong-holds-world-record-as-largest-croc-in-the-world&catid=22%3Anews&Itemid=131 |dead-url=yes |archive-date=January 26, 2012 |work=Protected Areas and Wildlife Bureau |accessdate=June 23, 2012 |date=November 17, 2011 |df= }}</ref><ref>{{cite web|last=Britton|first=Adam|title=Accurate length measurement for Lolong|url=http://crocodilian.blogspot.com.au/2011/11/accurate-length-measurement-for-lolong.html|work=Croc Blog|accessdate=June 23, 2012|date=November 12, 2011|archive-date=2016-01-26|archive-url=https://web.archive.org/web/20160126054039/http://crocodilian.blogspot.com.au/2011/11/accurate-length-measurement-for-lolong.html|url-status=dead}}</ref>

[[นกประจำชาติ]]ที่รู้จักกันในชื่อ[[นกอินทรีฟิลิปปิน]] (''Pithecophaga jefferyi'') มีลำตัวยาวที่สุดในบรรดา[[นกอินทรี]]ชนิดใด ๆ<ref name=RaptorsWorld>{{cite book|year=2001|title=Raptors of the World| publisher=[[Helm Identification Guides|Christopher Helm]]|location=London|pages=717–19|isbn=0-7136-8026-1|author1=Ferguson-Lees, J. |author2=Christie, D. }}</ref><ref>{{IUCN2006|assessor=BirdLife International.|year=2004|id=144490|title=Pithecophaga jefferyi|downloaded=January 7, 2009}}</ref>
[[ไฟล์:Underwater Moalboal 3.jpg|thumb|พืดหินปะการังนอกชายฝั่ง[[เกาะเซบู]]]]
[[น่านน้ำอาณาเขต]]ของฟิลิปปินส์ครอบคลุมเนื้อที่กว้างขวางถึง 2,200,000 ตารางกิโลเมตร (849,425 ตารางไมล์) เป็นแหล่งกำเนิดชีวิตในท้องทะเลที่มีลักษณะเฉพาะและมีความหลากหลายอันเป็นส่วนสำคัญของ[[สามเหลี่ยมปะการัง]]<ref name=baselines/> ประมาณกันว่ามีชนิดปะการังและปลาทะเลทั้งสิ้น 500 และ 2,400 ชนิดตามลำดับ<ref name="etravel"/><ref name="lonelyplanet"/> สถิติใหม่<ref>{{cite journal |url= https://www.researchgate.net/publication/236001316_First_Record_of_the_dottyback_Manonichthys_alleni_(Teleostei_Perciformes_Pseudochromidae)_from_the_Philippines?ev=prf_pub|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131016063342/https://www.researchgate.net/publication/236001316_First_Record_of_the_dottyback_Manonichthys_alleni_(Teleostei_Perciformes_Pseudochromidae)_from_the_Philippines?ev=prf_pub|archivedate=2013-10-16 |author1=Bos, A.R. |author2=Smits, H.M. |lastauthoramp=yes |title= First Record of the dottyback Manonichthys alleni (Teleostei: Perciformes: Pseudochromidae) from the Philippines |journal= Marine Biodiversity Records |year=2013 |volume=6 |issue=e61 |pages= |doi=10.1017/s1755267213000365}}</ref><ref>{{cite journal |url=https://www.researchgate.net/publication/237335102_Seven_new_records_of_fishes_(Teleostei_Perciformes)_from_coral_reefs_and_pelagic_habitats_in_Southern_Mindanao_the_Philippines?ev=prf_pub|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140919140031/http://www.researchgate.net/publication/237335102_Seven_new_records_of_fishes_%28Teleostei_Perciformes%29_from_coral_reefs_and_pelagic_habitats_in_Southern_Mindanao_the_Philippines?ev=prf_pub|archivedate=2014-09-19 |author1=Bos, Arthur R. |author2=Gumanao, Girley S. |lastauthoramp=yes |title= Seven new records of fishes (Teleostei: Perciformes) from coral reefs and pelagic habitats in Southern Mindanao, the Philippines|journal= Marine Biodiversity Records |publisher= |year=2013 |volume=6 |issue=e95 |pages=1–6 |doi=10.1017/s1755267213000614}}</ref> และการค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่<ref>{{cite journal |author=Bos A.R.|author2=Gumanao, G.S.|author3=Salac, F.N. |year=2008 |title=A newly discovered predator of the crown-of-thorns starfish |journal=Coral Reefs |volume=27 |issue= |page=581 |publisher= |doi= 10.1007/s00338-008-0364-9|url=https://www.researchgate.net/publication/225650880_A_newly_discovered_predator_of_the_crown-of-thorns_starfish|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150703190342/http://www.researchgate.net/publication/225650880_A_newly_discovered_predator_of_the_crown-of-thorns_starfish|archivedate=2015-07-03}}</ref><ref>{{cite journal |author=Ocaña O., J.C. |author2=den Hartog |author3=A. Brito |author4=Bos, A.R. |year=2010 |title=On Pseudocorynactis species and another related genus from the Indo-Pacific (Anthozoa: Corallimorphidae) |journal=Revista de la Academia Canaria de Ciencias |volume=XXI |issue=3–4 |pages=9–34 |publisher= |url=https://www.researchgate.net/publication/230851883_On_Pseudocorynactis_species_and_another_related_genus_from_the_Indo-Pacific_(Anthozoa_Corallimorphidae)?ev=prf_pub|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140919140037/http://www.researchgate.net/publication/230851883_On_Pseudocorynactis_species_and_another_related_genus_from_the_Indo-Pacific_%28Anthozoa_Corallimorphidae%29?ev=prf_pub|archivedate=2014-09-19}}</ref><ref>{{cite journal |author=Bos A.R. |year=2014 |title=Upeneus nigromarginatus, a new species of goatfish (Perciformes: Mullidae) from the Philippines |journal=Raffles Bulletin of Zoology |volume=62 |issue= |pages=745–753 |url=https://www.researchgate.net/publication/266563180_Upeneus_nigromarginatus_a_new_species_of_goatfish_%28Perciformes_Mullidae%29_from_the_Philippines|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150703125644/http://www.researchgate.net/publication/266563180_Upeneus_nigromarginatus_a_new_species_of_goatfish_%28Perciformes_Mullidae%29_from_the_Philippines|archivedate=2015-07-03}}</ref> ได้เพิ่มตัวเลขเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นลักษณะเฉพาะของทรัพยากรทางทะเลในฟิลิปปินส์ได้อย่างชัดเจน [[อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา|พืดหินปะการังตุบบาตาฮา]]ใน[[ทะเลซูลู]]ได้รับการประกาศให้เป็น[[มรดกโลก|แหล่งมรดกโลก]]เมื่อปี ค.ศ. 1993 นอกจากนี้ น่านน้ำฟิลิปปินส์ยังเอื้อต่อการเจริญเติบโตของปู หอยมุก และสาหร่ายทะเล<ref name="etravel"/><ref name="resources">[http://www.philippine-history.org/about-philippines.htm "About the Philippines"]. (October 17, 2009). Retrieved December 20, 2009 from the Philippine History Website.</ref>

ด้วยชนิดพืชประมาณ 13,500 ชนิด ซึ่ง 3,200 ชนิดในจำนวนนี้พบเฉพาะในกลุ่มเกาะนี้เท่านั้น<ref name="lonelyplanet"/> ป่าดิบชื้นของฟิลิปปินส์จึงมีพรรณพืชหลากหลายซึ่งรวมถึง[[กล้วยไม้]]และ[[สกุลบัวผุด|บัวผุด]]หายากหลายพันธุ์<ref name="biodiverse">{{cite web|url=http://fpe.ph/biodiversity.html/view/hub-of-life-species-diversity-in-the-philippines|title=Hub of Life: Species Diversity in the Philippines|publisher=Foundation for the Philippine Environment|date=February 18, 2014 |accessdate=September 21, 2014}}</ref><ref>Taguinod, Fioro. (November 20, 2008). [http://www.gmanews.tv/story/134682/Rare-flower-species-found-only-in-northern-Philippines "Rare flower species found only in northern Philippines"]. ''GMA News''. Retrieved December 14, 2009.</ref> [[การทำลายป่า]]ซึ่งมักเป็นผลจากการทำไม้ผิดกฎหมายถือเป็นปัญหาร้ายแรงของฟิลิปปินส์ พื้นที่ป่าลดลงจากร้อยละ 70 ของพื้นที่บนบกทั้งหมดของประเทศในปี ค.ศ. 1900 เหลือเพียงประมาณร้อยละ 18.3 ในปี ค.ศ. 1999<ref>Peralta, Eleno O. (2005). "[http://www.fao.org/docrep/008/af349e/af349e0n.htm#bm23 21. Forests for poverty alleviation: the response of academic institutions in the Philippines]". In Sim, Appanah, and Hooda (Eds.). ''Proceedings of the workshop on forests for poverty reduction: changing role for research, development and training institutions'' (RAP Publication). [[Food and Agriculture Organization]] (FAO). Retrieved December 20, 2009.</ref> สิ่งมีชีวิตจำนวนมากตกอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ และมีนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (รวมทั้งฟิลิปปินส์) ต้องเผชิญกับอัตราการสูญพันธุ์ที่รุนแรงถึงร้อยละ 20 เมื่อสิ้นสุดคริสต์ศตวรรษที่ 21<ref>Kirby, Alex. (July 23, 2003). [http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/3090071.stm SE Asia faces 'catastrophic' extinction rate]. ''BBC News''. Retrieved December 20, 2009.</ref>

=== ภูมิอากาศ ===
[[ไฟล์:Haiyan Nov 7 2013 1345Z.png|thumb|170px|upright|[[พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน|ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน]] (ในฟิลิปปินส์เรียกว่า ''โยลันดา'') ขณะมีกำลังแรงสูงสุด]]
ฟิลิปปินส์อยู่ในเขต[[ภูมิอากาศ]]ภาคพื้นสมุทรเขตร้อนซึ่งโดยปกติจะมีอากาศร้อนและชื้น มีฤดูกาล 3 ฤดูกาล ได้แก่ ''ตักอีนิต'' ({{lang|tl|tag-init}}) หรือ ''ตักอาเรา'' ({{lang|tl|tag-araw}}) ซึ่งเป็นฤดูร้อนหรือฤดูที่มีอากาศแห้งร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ''ตักอูลัน'' ({{lang|tl|tag-ulan}}) หรือฤดูฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤศจิกายน และ ''ตักลามิก'' ({{lang|tl|taglamig}}) หรือฤดูที่มีอากาศแห้งเย็นตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ [[มรสุม]]ตะวันตกเฉียงใต้ (ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม) มีชื่อเป็นภาษาท้องถิ่นว่า ''ฮากาบัต'' ({{lang|tl|habagat}}) และลมแห้งของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน) มีชื่อเป็นภาษาท้องถิ่นว่า ''อามีฮัน'' ({{lang|tl|amihan}})<ref name=climate/> อุณหภูมิโดยทั่วไปอยู่ในพิสัยตั้งแต่ 21 องศาเซลเซียส (70 องศาฟาเรนไฮต์) ถึง 32 องศาเซลเซียส (90 องศาฟาเรนไฮต์) แต่อาจเย็นหรือร้อนกว่านี้ขึ้นอยู่กับฤดูกาล เดือนที่มีอากาศเย็นที่สุดคือเดือนมกราคม ส่วนเดือนที่มีอากาศอบอุ่นที่สุดคือเดือนพฤษภาคม<ref name="About"/><ref>[[Lonely Planet]]. (n.d.). [http://www.lonelyplanet.com/philippines/weather Philippines: When to go & weather] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170910081053/http://www.lonelyplanet.com/philippines/weather |date=2017-09-10 }}. Retrieved January 23, 2009.</ref>

อุณหภูมิเฉลี่ยรายปีอยู่ที่ประมาณ 26.6 องศาเซลเซียส (79.9 องศาฟาเรนไฮต์)<ref name=climate>{{cite web|author = Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration |authorlink = Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration |url = http://kidlat.pagasa.dost.gov.ph/cab/cab.htm |archiveurl = https://web.archive.org/web/20100531021557/http://kidlat.pagasa.dost.gov.ph/cab/cab.htm |archivedate = May 31, 2010 |title = Climate of the Philippines |date = n.d. |accessdate = April 24, 2010}}</ref> ทั้งนี้ ทำเลที่ตั้งในแง่ละติจูดและลองจิจูดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการพิจารณาอุณหภูมิ เพราะไม่ว่าจะอยู่เหนือสุด ใต้สุด ตะวันออกสุด หรือตะวันตกสุดของประเทศ อุณหภูมิที่ระดับน้ำทะเลก็มีแนวโน้มที่จะอยู่ในพิสัยเดียวกัน ระดับความสูงของพื้นที่มักจะส่งผลต่ออุณหภูมิมากกว่า อุณหภูมิเฉลี่ยรายปีของเมือง[[บากีโย]]ที่ระดับความสูง 1,500 เมตร (4,900 ฟุต) จากระดับน้ำทะเลคือ 18.3 องศาเซลเซียส (64.9 องศาฟาเรนไฮต์) ทำให้เมืองนี้เป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมในฤดูร้อน<ref name=climate/>

เนื่องจากตั้งอยู่ในแดนไต้ฝุ่น เกาะส่วนใหญ่ของฟิลิปปินส์จึงมีฝนตกกระหน่ำและพายุฟ้าคะนองตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี<ref name=cp>[[Library of Congress]] – [[Federal Research Division]]. (March 2006). [http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/profiles/Philippines.pdf ''Country Profile: Philippines'']. Retrieved December 17, 2009.</ref> ในแต่ละปีจะมีไต้ฝุ่นประมาณ 19 ลูกเข้าสู่เขตความรับผิดชอบของ[[สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์ฟิลิปปินส์]] โดยมี 8-9 ลูกในจำนวนนี้เคลื่อนตัวขึ้นฝั่ง<ref>{{Cite book|url = http://www.unu.edu/unupress/unupbooks/80346e/80346E00.htm |archiveurl = https://web.archive.org/web/20110719181709/http://archive.unu.edu/unupress/unupbooks/80346e/80346E00.htm |archivedate = July 19, 2011 |title = Economics of the Philippine Milkfish Resource System |chapter-url = https://web.archive.org/web/*/http://www.unu.edu/unupress/unupbooks/80346e/80346E06.htmhtm |chapter = III. The transformation sub-system: cultivation to market size in fishponds |author1 = Chong, Kee-Chai |author2 = Ian R. Smith |author3 = Maura S. Lizarondo |last-author-amp = yes |publisher = The United Nations University |year = 1982 |isbn = 92-808-0346-8 |accessdate = May 14, 2009}}</ref><ref name=PagasaWMO>{{cite journal|url = http://www.typhooncommittee.org/41st/docs/TC2_MemberReport2008_PHILIPPINES1.pdf |author = Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration (PAGASA). |title = Member Report to the ESCAP/WMO Typhoon Committee, 41st Session |date = January 2009 |accessdate = December 17, 2009}}</ref><ref name=digitaltyphoon>[http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/reference/monthly/ ''Monthly Typhoon Tracking Charts'']. (2010). Retrieved April 24, 2010 from the [[National Institute of Informatics]], Kitamoto Laboratory, Digital Typhoon Website.</ref> ปริมาณน้ำฝนรายปีตรวจวัดได้สูงถึง 5,000 มิลลิเมตร (200 นิ้ว) ในเขตชายฝั่งตะวันออกซึ่งมีสภาพเป็นภูเขา แต่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร (39 นิ้ว) ในหุบเขาบางแห่งที่มีที่กำบัง<ref name=cp/>
[[พายุหมุนเขตร้อน]]ที่ทำให้ฝนตกมากที่สุดในฟิลิปปินส์เท่าที่ทราบกันคือพายุหมุนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1911 ซึ่งส่งอิทธิพลให้เกิดฝนตกหนักปริมาณถึง 1,168 มิลลิเมตร (46 นิ้ว) ภายในเวลา 24 ชั่วโมงที่เมืองบากีโย<ref>Balek, Jaroslav. ''Hydrology and Water Resources in Tropical Regions. (Developments in Water Science; 18).'' Amsterdam: Elsevier, 1983, p. 47.</ref> อนึ่ง ''บักโย'' ({{lang|tl|bagyo}}) เป็นคำในภาษาฟิลิปปินส์ที่ใช้เรียกพายุหมุนเขตร้อน

== เศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:Philippines Export Treemap.png|thumb|260px|สัดส่วนสินค้าออกของฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. 2012]]
[[ไฟล์:Dole Pineapple Harvesting.jpg|thumb|260px|การเก็บเกี่ยวสับปะรดใน[[จังหวัดตีโมกโคตาบาโต]]]]
[[ไฟล์:Central Aucarera de La Carlota.jpg|thumb|260px|โรงงานน้ำตาลแห่งหนึ่งใน[[จังหวัดคันลูรังเนโกรส]]]]
เศรษฐกิจฟิลิปปินส์มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)|อันดับที่ 34 ของโลก]] โดยในปี ค.ศ. 2017 มี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]] (ราคาตลาด) โดยประมาณอยู่ที่ 348,593 ล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]<ref name=imf2/> สินค้าส่งออกหลักได้แก่ ผลิตภัณฑ์[[สารกึ่งตัวนำ]]และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ บริภัณฑ์ขนส่ง เสื้อผ้า ผลิตภัณฑ์[[ทองแดง]] ผลิตภัณฑ์[[ปิโตรเลียม]] [[น้ำมันมะพร้าว]] และผลไม้<ref name=CIAfactbook/> คู่ค้ารายใหญ่ได้แก่ [[สหรัฐอเมริกา]] [[ญี่ปุ่น]] [[จีน]] [[สิงคโปร์]] [[เกาหลีใต้]] [[เนเธอร์แลนด์]] [[ฮ่องกง]] [[เยอรมนี]] [[ไต้หวัน]] และ[[ไทย]]<ref name=CIAfactbook/> [[เงินตรา|หน่วยเงินตรา]]ของประเทศคือ[[เปโซฟิลิปปินส์]]

ในฐานะ[[ประเทศอุตสาหกรรมใหม่]] ระบบเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ได้เปลี่ยนผ่านจากระบบที่พึ่งพิงเกษตรกรรมไปสู่ระบบที่เน้นการบริการและการผลิตมากขึ้น จากจำนวนผู้อยู่ในกำลังแรงงานทั้งหมดประมาณ 40.81<ref name=CIAfactbook/> [[เกษตรกรรมในประเทศฟิลิปปินส์|ภาคเกษตรกรรมมีสัดส่วนการจ้างงานคิดเป็นร้อยละ 30]] และสร้างมูลค่าคิดเป็นร้อยละ 14 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนการจ้างงานร้อยละ 14 และสร้างมูลค่าร้อยละ 30 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในขณะที่ร้อยละ 47 เป็นแรงงานในภาคบริการซึ่งสร้างมูลค่าร้อยละ 56 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ<ref name="nscb2009">{{cite web|url=http://www.nscb.gov.ph/sna/2009/3rdQ2009/2009gnpi3.asp|author=Republic of the Philippines. National Statistical Coordination Board|title=Third Quarter 2009 Gross National Product and Gross Domestic Product by Industrial Origin|accessdate=December 11, 2009|archive-date=2011-06-29|archive-url=https://web.archive.org/web/20110629150040/http://www.nscb.gov.ph/sna/2009/3rdQ2009/2009gnpi3.asp|url-status=dead}}</ref><ref name="quickstat">{{cite web|url=http://www.census.gov.ph/data/quickstat/qs0909tb.pdf|archiveurl=https://web.archive.org/web/20120711125757/http://www.census.gov.ph/data/quickstat/qs0909tb.pdf|archivedate=July 11, 2012|author=Philippine Statistics Authority|title=Quickstat|format=PDF|date=October 2009|accessdate=December 11, 2009}}</ref>

[[อัตราการว่างงาน]]ของฟิลิปปินส์ ณ วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2014 อยู่ที่ร้อยละ 6.0<ref>{{cite web|url=http://www.marketwatch.com/story/philippines-jobless-rate-eases-to-6-in-october-2014-12-10|title=Philippines jobless rate eases to 6% in October|publisher=[[MarketWatch]]|date=December 10, 2014|accessdate=December 14, 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.rttnews.com/2428724/philippine-unemployment-rate-falls-in-october.aspx|title=Philippine Unemployment Rate Falls In October|publisher=RTTNews|date=December 10, 2014|accessdate=December 14, 2014}}</ref> ในขณะเดียวกัน เนื่องจากสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานมีราคาถูกลง อัตราเงินเฟ้อจึงขยายตัวลดลงเหลือร้อยละ 3.7 ในเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกัน<ref>{{cite web|last=Magtulis |first=Prinz P. |url=https://www.bloomberg.com/news/2014-08-28/philippine-second-quarter-gdp-growth-quickens-beating-estimates.html |title=Philippine GDP Growth Beats Estimate in Boost to Aquino Goal |publisher=[[Bloomberg News]] |date=August 28, 2014 |accessdate=September 21, 2014}}</ref> [[ทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ]] ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2013 มีมูลค่า 83,201 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>Denis Somoso. (September 30, 2013). [http://ph.austronesia.net/?q=Philippine-Gross-International-reserves-GIR-totaled-83.201-Billion-US-Dollars-at-end-of-August-2013 "$83.201 Billion – Philippines GIR now Rank 26th World's highest International Reserves"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20131013031726/http://ph.austronesia.net/?q=Philippine-Gross-International-reserves-GIR-totaled-83.201-Billion-US-Dollars-at-end-of-August-2013 |date=2013-10-13 }}. ''Philippines, ASIA and the Global Economy Site''. Retrieved September 30, 2013.</ref><!--<ref>International Monetary Fund. (December 1, 2009). [http://www.imf.org/external/np/sta/ir/phl/eng/curphl.htm#I "Philippines: International Reserves and Foreign Currency Liquidity"]. Retrieved December 17, 2009.</ref>--> [[อัตราส่วนหนี้สินต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]]ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากสถิติสูงสุดที่ร้อยละ 78 ในปี ค.ศ. 2004<ref>{{cite web|last=Mendoza|first=Ronlad U.|url=http://www.rappler.com/thought-leaders/7559-debt-free|title=Debt free?|publisher=[[Rappler]]|date=June 25, 2012|accessdate=December 14, 2014}}</ref> มาอยู่ที่ร้อยละ 38.1 ณ เดือนมีนาคม ค.ศ. 2014<ref>{{cite web|url=http://www.rappler.com/business/economy-watch/69949-debt-govt-ratio|title=Debt-to-gov't ratio hits 38.1% in end-March|publisher=[[Rappler]]|date=September 23, 2014|accessdate=December 14, 2014}}</ref><ref>{{cite web|last=Dela Peña|first=Zinnia B.|url=http://www.philstar.com/business/2014/09/24/1372404/debt-gdp-ratio-continues-improve|title=Debt-to-GDP ratio continues to improve|publisher=[[The Philippine Star]]|date=September 24, 2014|accessdate=December 14, 2014}}</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศผู้นำเข้าสุทธิ<ref name="quickstat"/> แต่ก็เป็นประเทศเจ้าหนี้เช่นกัน<ref>{{cite web|url=http://newsinfo.inquirer.net/152897/from-butt-of-jokes-in-1986-philippines-has-risen-to-creditor-nation-says-ex-finance-chief#ixzz2szxJl2Et |title=From butt of jokes in 1986, Philippines has risen to creditor nation, says ex-finance chief |publisher=Newsinfo.inquirer.net |date=February 28, 2012 |accessdate=March 3, 2014}}</ref>

หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ฟิลิปปินส์ได้รับการจัดให้เป็นประเทศที่มั่งคั่งที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เป็นรองเพียงญี่ปุ่นเท่านั้น<ref name="PhilState"/><ref>[http://www.economist.com/world/asia/displaystory.cfm?story_id=E1_RRPJDJ The Filipina sisterhood]. (December 20, 2001). ''[[The Economist]]''. Retrieved November 9, 2009.</ref><ref name=ure>{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=rujyOiFMl0MC&printsec=frontcover|author=Ure, John|title=Telecommunications Development in Asia|publisher=Hong Kong University Press|year=2008|pages=301–302|isbn=978-962-209-903-6}}</ref> จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษ 1960 สมรรถนะทางเศรษฐกิจของประเทศจึงเริ่มถูกแซง เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะชะงักงันภายใต้การปกครองแบบเผด็จการของประธานาธิบดี[[เฟร์ดีนันด์ มาร์โคส]] เนื่องจากระบอบมาร์โคสได้บ่มเพาะปัญหาการจัดการเศรษฐกิจที่ไม่ดีและความผันผวนทางการเมืองเอาไว้<ref name="PhilState"/><ref name=ure/> ระบบเศรษฐกิจเติบโตทางอย่างเชื่องช้าและประสบ[[ภาวะเศรษฐกิจถดถอย|ภาวะถดถอย]]เป็นระยะ ๆ จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษ 1990 จึงเริ่มฟื้นตัวตามแผนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ<ref name="PhilState"/><ref name=ure/>

ฟิลิปปินส์ต้องเผชิญ[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540|วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย ค.ศ. 1997]] อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ค่าเงินเปโซลดลงอย่างต่อเนื่องและราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ตกลงมาหลายจุดในช่วงแรกของวิกฤตการณ์ แต่ผลกระทบที่ฟิลิปปินส์ได้รับนั้นไม่หนักเท่าในประเทศเพื่อนบ้านบางประเทศ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากนโยบายการคลังแบบอนุรักษนิยมของรัฐบาล และบางส่วนเป็นผลมาจากการเฝ้าระวังและการควบคุมดูแลทางการเงินเป็นเวลาหลายสิบปีโดย[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]] ในขณะที่บรรดาประเทศเพื่อนบ้านได้ใช้เงินมหาศาลเพื่อกระตุ้นความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว<ref name="lastlaugh"/> จากนั้นเป็นต้นมาระบบเศรษฐกิจก็ส่งสัญญาณกระเตื้องขึ้น ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเติบโตขึ้นร้อยละ 6.4 ในปี ค.ศ. 2004 และร้อยละ 7.1 ในปี ค.ศ. 2007 ซึ่งเป็นอัตราการเติบโตที่เร็วที่สุดในรอบสามทศวรรษ<ref name=IMF2012>{{cite web |url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2012/01/weodata/weorept.aspx?pr.x=36&pr.y=14&sy=2009&ey=2012&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=566&s=NGDPD%2CNGDPDPC%2CPPPGDP%2CPPPPC%2CLP&grp=0&a= |title=Philippines|publisher=International Monetary Fund|accessdate=April 20, 2012}}</ref><ref name=fastestGDP>Felix, Rocel. (January 25, 2008). [https://web.archive.org/web/20150222050937/http://business.inquirer.net/money/breakingnews/view/20080125-114787/2007-GDP-seen-growing-at-fastest-rate-in-30-years 2007 GDP seen growing at fastest rate in 30 years]. ''The Philippine Daily Inquirer''. Retrieved May 29, 2010. (archived from [https://web.archive.org/web/20080127233313/http://business.inquirer.net/money/breakingnews/view/20080125-114787/2007-GDP-seen-growing-at-fastest-rate-in-30-years the original] on February 22, 2015)</ref> อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายปีโดยเฉลี่ยต่อหัวในช่วงปี ค.ศ. 1966–2007 อยู่ที่ร้อยละ 1.45 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยร้อยละ 5.96 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกโดยรวม รายได้ต่อวันของประชากรฟิลิปปินส์ร้อยละ 45 ยังคงน้อยกว่า 2 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name="UN">{{cite journal|author=United Nations Development Programme|title=Table G: Human development and index trends, Table I: Human and income poverty|year=2009|isbn=978-0-230-23904-3}}</ref><ref name=Reddel>Reddel, Paul (May 27, 2009). [https://web.archive.org/web/20121114025256/http://www.ppiaf.org/feature-story/infrastructure-and-ppps-philippines ''Infrastructure & Public-Private Partnerships in East Asia and the Philippines''] [PowerPoint slides]. Presentation in Manila to the American Foreign Chambers of Commerce of the Philippines. Retrieved February 13, 2010 from the Public-Private Infrastructure Advisory Facility (PPIAF) Website.</ref><ref>{{cite web|url=http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2010/02/weodata/weorept.aspx?pr.x=37&pr.y=3&sy=2005&ey=2010&scsm=1&ssd=1&sort=subject&ds=.&br=1&c=566%2C536%2C578%2C548&s=NGDPD%2CNGDPDPC&grp=0&a= |title=Report for Selected Countries and Subjects |publisher=Imf.org |date=September 14, 2006 |accessdate=October 23, 2011}}</ref>

[[การส่งเงินกลับประเทศ|การส่งเงินกลับ]]ของแรงงานฟิลิปปินส์ในต่างประเทศเป็นแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างมาก โดยมีมูลค่าเกินกว่า[[การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ]]ในฐานะแหล่งเงินตราต่างประเทศ การส่งเงินกลับประเทศขึ้นสู่จุดสูงสุดในปี ค.ศ. 2010 โดยมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 10.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และอยู่ที่ร้อยละ 8.6 ในปี ค.ศ. 2012 และในปี ค.ศ. 2014 ฟิลิปปินส์ได้รับเงินส่งกลับจากแรงงานในต่างประเทศทั้งสิ้น 28,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>{{cite web|url=http://www.dawn.com/news/1176411|title=Pakistan's remittances|author=Sakib Sherani|work=dawn.com|accessdate=December 17, 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=http://business.inquirer.net/160057/ofw-remittances-to-increase-by-8-5-in-2014-standard-chartered|title=OFW remittances to increase by 8.5% in 2014—Standard Chartered|publisher=[[Philippine Daily Inquirer]]|date=January 13, 2014|accessdate=September 21, 2014}}</ref> อย่างไรก็ตาม การพัฒนาในระดับภูมิภาคยังไม่เท่าเทียมกัน โดยมากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหม่ ๆ ยังกระจุกตัวอยู่ที่เกาะลูซอน (โดยเฉพาะ[[เมโทรมะนิลา]]) จึงต้องแลกมากับโอกาสในการพัฒนาภูมิภาคอื่น ๆ<ref name="econ-manila">{{cite web|url=http://www.rappler.com/thought-leaders/30229-the-state-of-philippine-economic-competitiveness-2013|title=Why PH improves in competitiveness ranking|publisher=[[Rappler]]|date=Aug 22, 2013|accessdate=September 21, 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=http://cebudailynews.inquirer.net/22630/poverty-and-regional-development-imbalance|title=Poverty and regional development imbalance|publisher=[[Philippine Daily Inquirer]]|date=March 5, 2014|accessdate=September 21, 2014}}</ref> แม้ว่ารัฐบาลจะดำเนินมาตรการกระจายความเจริญด้วยการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่อื่น ๆ ของประเทศแล้วก็ตาม ถึงจะมีข้อจำกัดต่าง ๆ แต่อุตสาหกรรมบริการ เช่น [[การท่องเที่ยว]] [[การจ้างทำกระบวนการธุรกิจ|การจ้างคนนอกทำกระบวนการธุรกิจ]] ก็ได้รับการระบุว่าเป็นหนึ่งในภาคส่วนที่มีโอกาสดีที่สุดสำหรับการเติบโตของประเทศ<ref name="quickstat"/><ref name="atimesbpo">{{cite web|url=http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/HE10Ae02.html|author=Llorito, David|title=Help wanted for Philippines outsourcing|publisher=Asia Times|date=May 10, 2006|accessdate=December 11, 2009|archive-date=2009-12-12|archive-url=https://web.archive.org/web/20091212150632/http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/HE10Ae02.html|url-status=dead}}</ref>

สถาบันการเงิน[[โกลด์แมนซากส์]]ได้รวมฟิลิปปินส์อยู่ในรายชื่อ "[[11 ประเทศถัดไป]]" ที่มีศักยภาพสูงที่จะมีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 21<ref>{{cite web|url=http://www.goldmansachs.com/our-thinking/archive/archive-pdfs/brics-book/brics-chap-13.pdf|title=Beyond the Brics: A Look at the 'Next 11' |date=April 2007 |accessdate=September 21, 2014}}</ref><ref>{{cite web|last=Armstrong|first=Aristidi|url=http://economicstudents.com/2013/04/move-over-brics-the-next-eleven-has-emerged/ |title=Move over BRICS, the "Next Eleven" has emerged |publisher=Economics Student Society of Australia |date=April 21, 2013 |accessdate=September 21, 2014}}</ref> แต่จีนและอินเดียก็ได้ก้าวขึ้นมาเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจที่สำคัญเช่นกัน<ref>Olchondra, Riza T. (October 2, 2006). [https://web.archive.org/web/20070212043928/http://business.inquirer.net/money/topstories/view_article.php?article_id=24405 As India gets too costly, BPOs turn to Philippines]. ''[[The Philippine Daily Inquirer]]''. Retrieved December 16, 2009. (archived from [https://web.archive.org/web/20070212043928/http://business.inquirer.net/money/topstories/view_article.php?article_id=24405 the original] on February 12, 2007)</ref> โกลด์แมนซากส์ยังคาดการณ์ว่า เมื่อถึงปี ค.ศ. 2050 เศรษฐกิจฟิลิปปินส์จะมีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 20 ของโลก<ref>{{cite web|url=http://www.businessinsider.com/goldmans-world-gdp-projection-for-2050-2012-11|title=GOLDMAN: Here's What Global GDP Will Look Like In 2050 |publisher=[[Business Insider]] |date=November 19, 2012 |accessdate=September 21, 2014}}</ref> ส่วนธนาคาร[[เอชเอสบีซี]]ก็คาดการณ์ว่า เมื่อถึงปี ค.ศ. 2050 เศรษฐกิจของประเทศนี้จะมีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 16 ของโลก ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 5 ของ[[เอเชีย]] และที่ใหญ่ที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]<ref>{{cite web|last=Platt|first=Eric|url=http://www.businessinsider.com/these-economies-will-dominate-the-world-in-2050-2012-1?op=1 |title=These Economies Will Dominate The World In 2050 |publisher=[[Business Insider]] |date=January 13, 2012 |accessdate=September 21, 2014}}</ref><ref>{{cite web|last=Fajardo |first=Fernando |url=http://newsinfo.inquirer.net/153661/the-philippines-in-2050 |title=The Philippines in 2050 |publisher=[[Philippine Daily Inquirer]] |date=February 29, 2012 |accessdate=September 21, 2014}}</ref><ref>Kevin Voigt (January 12, 2012). [https://web.archive.org/web/20120208143300/http://business.blogs.cnn.com/2012/01/12/worlds-top-economies-in-2050-will-be World's top economies in 2050 will be... ''CNN''.] (archived from [https://web.archive.org/web/20120115031430/http://business.blogs.cnn.com/2012/01/12/worlds-top-economies-in-2050-will-be the original] on August 14, 2012)</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศสมาชิก[[ธนาคารโลก]] กองทุนการเงินระหว่างประเทศ [[องค์การการค้าโลก]] [[ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย]] (ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง[[มันดาลูโยง]]) [[แผนโคลัมโบ]] [[กลุ่ม 77]] และ[[กลุ่ม 24]] ในบรรดากลุ่มและสถาบันความร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ<ref name=CIAfactbook/>

=== การท่องเที่ยว ===
[[ไฟล์:1white beach2.JPG|thumb|หาดทรายขาวบนเกาะ[[โบราไค]]|290px]]
ภาคการเดินทางและท่องเที่ยวมีบทบาทสำคัญต่อ[[เศรษฐกิจฟิลิปปินส์]] โดยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ระบบเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.1 ของ[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]]ในปี ค.ศ. 2013<ref>{{cite web |url=http://knoema.com/atlas/Philippines/topics/Tourism/Travel-and-Tourism-Total-Contribution-to-GDP/Total-Contribution-to-GDP-percent-share|title=Philippines – Travel & Tourism Total Contribution to GDP – Travel & Tourism Total Contribution to GDP – % share|accessdate=September 19, 2014}}</ref> และสร้างตำแหน่งงาน 1,226,500 ตำแหน่ง หรือร้อยละ 3.2 ของการจ้างงานทั้งหมด<ref>{{cite web |url=http://www.gmanetwork.com/news/story/353267/economy/business/travel-and-tourism-to-contribute-p490b-or-3-8-to-2014-phl-output-says-council|title=Travel and tourism to contribute P490B or 3.8% to 2014 PHL output, says council|publisher=GMA News and Current Affairs|date=March 19, 2014|accessdate=September 19, 2014}}</ref> ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2017 ฟิลิปปินส์ได้ต้อนรับผู้มาเยือนชาวต่างชาติทั้งหมด 2,882,737 คน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.43 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี ค.ศ. 2016) ผู้มาเยือนจากภูมิภาค[[เอเชียตะวันออก]] [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] และ[[เอเชียใต้]]รวมกันคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60.72 ในขณะที่ผู้มาเยือนจาก[[ทวีปอเมริกา]]และจาก[[ทวีปยุโรป]]มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 18.52 และร้อยละ 11.26 ตามลำดับ<ref>{{cite web|url=http://www.tourism.gov.ph/Pages/IndustryPerformance.aspx|title=INDUSTRY PERFORMANCE FOR TRAVEL AND TOURISM, MAY 2017|accessdate=September 19, 2017|archive-date=2014-10-07|archive-url=https://web.archive.org/web/20141007152054/http://www.tourism.gov.ph/Pages/IndustryPerformance.aspx|url-status=dead}}</ref> หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการและส่งเสริมภาคการท่องเที่ยวของฟิลิปปินส์คือ[[กระทรวงการท่องเที่ยว (ประเทศฟิลิปปินส์)|กระทรวงการท่องเที่ยว]]

ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศเป็นหนึ่งในบรรดาจุดดึงดูดความสนใจหลัก ๆ ของการท่องเที่ยว โดยมีชายหาด ภูเขา ป่าดิบชื้น เกาะ และจุดดำน้ำอยู่ในบรรดาสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม เนื่องจากฟิลิปปินส์มีสภาพภูมิศาสตร์เป็นกลุ่มของเกาะประมาณ 7,500 เกาะ จึงมีชายหาด ถ้ำ และการก่อตัวของหินรูปทรงแปลกตามากมาย [[โบราไค]]ซึ่งมีหาดทรายขาวสะอาดได้รับการลงคะแนนจากผู้อ่านนิตยสาร[[แทรเวลแอนด์เลเชอร์]]ให้เป็นเกาะที่ดีที่สุดในโลกประจำปี ค.ศ. 2012<ref name="mb.com.ph">{{cite news|url=http://www.mb.com.ph/articles/365540/boracay-2012-world-s-best-island||archiveurl=https://web.archive.org/web/20120715024241/http://www.mb.com.ph/articles/365540/boracay-2012-world-s-best-island|archivedate=July 15, 2012|title=Boracay 2012 World's Best Island|date=July 11, 2012}}</ref> จุดเด่นด้านการท่องเที่ยวอื่น ๆ ได้แก่ [[นาขั้นบันไดบานาเว]]ใน[[จังหวัดอีฟูเกา]] นครประวัติศาสตร์[[วีกัน]]ใน[[จังหวัดตีโมกอีโลโคส]] [[เนินเขาช็อกโกแลต]]ใน[[จังหวัดโบโฮล]] [[กางเขนของมาเจลลัน]]ใน[[จังหวัดเซบู]] และ[[อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา|พืดหินปะการังตุบบาตาฮา]]ใน[[จังหวัดปาลาวัน]]

== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
==== เส้นทางคมนาคม ====
{{บทความหลัก|การขนส่งในประเทศฟิลิปปินส์}}

==== โทรคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}

=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในฟิลิปปินส์}}
*นโยบายทางการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน

หลังจากที่ฟิลิปปินส์ตกเป็นอาณานิคมของสเปนอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1571 ระบบการศึกษาในฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากนโยบายของจักรวรรดิสเปน สิ่งหนึ่งที่ถือเป็นเอกลักษณ์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษาในสมัยนั้น คือ ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก โดยศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาระบบการศึกษาทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัยภายในฟิลิปปินส์ เพราะเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของสเปนในการเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในฟิลิปปินส์
ปัจจัยที่ส่งผลให้ศาสนจักรโรมันคาทอลิกประสบความสำเร็จในการปฏิรูประบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์คือ ปัจจัยด้านการถือครองที่ดิน เหตุเพราะศาสนาโรมันคาทอลิกถือครองที่ดินเป็นจำนวนมากภายในฟิลิปปินส์ ซึ่งส่งผลให้นักบวชนิกายโรมันคาทอลิกมีอิทธิพลและมีอำนาจมากในการปฏิรูประบบการศึกษา และประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกภายในฟิลิปปินส์
ทั้งนี้ ระบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงอีกครั้งในปี ค.ศ.1863 ผ่านกฎหมายการศึกษา (Educational Decree) ที่เน้นให้ระบบการศึกษาภายในประเทศมีความเป็นระบบ มีหลักสูตรที่มีมาตรฐาน และก่อตั้งโรงเรียนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับประชาชนทั่วไปภายในประเทศ อย่างไรก็ดี ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบการศึกษาของคนในประเทศยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำระหว่างผู้ชายและผู้หญิง และความเหลื่อมล้ำระหว่างครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยและยากจน
นอกเหนือจากศาสนาและระบบการศึกษาที่เป็นระบบ ภาษาสเปนเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สเปนได้ทิ้งไว้แก่ประเทศอาณานิคม ซึ่งเห็นได้จากร่องรอยของมรดกทางภาษาสเปน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาตากาล็อกที่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาสเปน เช่นเดียวกับการตั้งชื่อคนในประเทศ ถนนหนทาง หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในฟิลิปปินส์ที่ยังคงถูกเรียกขานเป็นภาษาสเปนจนถึงปัจจุบัน
นโยบายทางการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสหรัฐ
ในการปฏิรูประบบการศึกษาภายในฟิลิปปินส์ภายใต้อาณานิคมของสหรัฐ ยุทธศาสตร์สำคัญของสหรัฐ คือ ความพยายามที่จะทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีความเป็นอเมริกันมากขึ้น (Americanization) ผ่านนโยบายการศึกษาที่ถูกคิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริกัน
ตลอดระยะเวลาที่สหรัฐปกครองฟิลิปปินส์ มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น เพื่อลดบทบาทการใช้ภาษาท้องถิ่น โดยกว่า 5 ทศวรรษของระบบการศึกษาแบบอเมริกัน นักเรียนฟิลิปปินส์ต้องศึกษาบทประพันธ์ของกวีตะวันตกชื่อดังมากมาย อาทิ วิลเลี่ยม เชคสเปียร์ เป็นต้น ส่งผลทำให้ชาวฟิลิปปินส์ให้ความสนใจกับวรรณคดีท้องถิ่นน้อยลง และใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนและในชีวิตประจำวันมากขึ้น
ถึงแม้ว่าสหรัฐ พยายามสอดแทรกวรรณกรรมตะวันตกในชีวิตประจำวันของชาวฟิลิปปินส์ แต่เมื่อเทียบกับยุคที่สเปนปกครองฟิลิปปินส์ก่อนหน้านั้น ถือได้ว่าชาวฟิลิปปินส์มีเสรีภาพในการแสดงผลงานด้านบทประพันธ์ กลอน และวารสารต่าง ๆ ในภาษาท้องถิ่นมากกว่าในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน
อย่างไรก็ตาม ผลงานวรรณกรรมของชาวฟิลิปปินส์กลับไม่ได้รับการบรรจุในวิชาภาษาและวรรณคดีในชั้นเรียนเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลทำให้ระบบการศึกษาแบบอเมริกันแตกต่างจากระบบการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปนโดยสิ้นเชิง นั่นคือ ชาวฟิลิปปินส์ในยุคที่ถูกปกครองโดยสหรัฐ ไม่มีโอกาสได้เรียนภาษาประจำชาติของตัวเอง เพราะภาษาท้องถิ่นถูกใช้เป็นเพียงตัวช่วยในการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เท่านั้น อีกทั้งสหรัฐยังผูกขาดการใช้ภาษาอังกฤษในระบบการศึกษา จวบจน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่ญี่ปุ่นเข้ายึดครองฟิลิปปินส์ในสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ญี่ปุ่นไม่ได้มีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาภายในประเทศฟิลิปปินส์

*นโยบายการศึกษาภายหลังยุคที่เป็นอาณานิคมของสหรัฐจวบจนปัจจุบัน
ภายหลังจากที่ฟิลิปปินส์มีอิสระในการกำหนดนโยบายการศึกษาแล้ว ฟิลิปปินส์ยังคงให้ความสำคัญกับภาษาอังกฤษในระบบการศึกษา พิจารณาได้จากรัฐธรรมนูญของประเทศฟิลิปปินส์ฉบับปี ค.ศ.1987 ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ภาษาทางการที่ใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียนคือภาษาฟิลิปปินส์และภาษาอังกฤษ กระทรวงศึกษาธิการของฟิลิปปินส์ได้กำหนดให้ใช้ภาษาทั้งสองในวิชาที่แตกต่างกันในการเรียนการสอน
ในปัจจุบัน นโยบายการศึกษาของฟิลิปปินส์ยังคงเป็นไปในรูปแบบอเมริกันที่เน้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน ในขณะเดียวกันสถาบันทางการศึกษาหลายต่อหลายแห่งยังคงขึ้นตรงต่อระบบการศึกษาแบบคาทอลิก อาทิ มหาวิทยาลัย ดา ลา ซาน (De La Salle University) และมหาวิทยาลัย อาเตเนโอ เด มานิล่า (Ateneo de Manila University) เป็นต้น
โดยสรุป การที่นโยบายทางการศึกษาของฟิลิปปินส์ถูกควบคุมโดยประเทศเจ้าอาณานิคมอย่างสเปนและ สหรัฐ ส่งผลดีและผลเสียแตกต่างกันไป
ผลดีสำหรับฟิลิปปินส์คือ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์มีคุณภาพ มีมาตรฐานและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น ผ่านการปฏิรูปทางการศึกษาของสเปน รวมไปถึงการที่ประชาชนภายในประเทศมีระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษที่สูงขึ้นภายใต้ระบบการศึกษาแบบอเมริกัน
ผลเสียภายใต้การปกครองโดยสเปนและสหรัฐ คือ การถูกลิดรอนอิสรภาพในการกำหนดทิศทางทางการศึกษาด้วยตัวเอง อาทิ ประชาชนฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลและกฎเกณฑ์ต่างๆ ภายใต้ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก หรือการที่เอกลักษณ์ของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรณกรรมและภาษาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์และให้ความสำคัญที่น้อยลงภายใต้ระบบการศึกษาแบบอเมริกัน

=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สาธารณสุข ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สวัสดิการสังคม ===
{{โครง-ส่วน}}

== ประชากรศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Philippine ethnic groups per province.PNG|thumb|200px|แผนที่แสดงชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในฟิลิปปินส์]]
มีปัญหาชนกลุ่มน้อยมุสลิมใน[[เกาะมินดาเนา]] ซึ่งต้องการแยกตัวเป็นอิสระ เรียกว่า "[[แนวปลดปล่อยแห่งชาติโมโร]]"

=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์}}
มีการใช้[[ภาษา]]มากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี [[พ.ศ. 2530]] รัฐธรรมนูญได้ระบุให้[[ภาษาตากาล็อก|ภาษาฟิลิปีโน]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]เป็น[[ภาษาทางการ]]

ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้กันมากในประเทศฟิลิปปินส์มีทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ [[ภาษาสเปน]] [[สำเนียงฮกเกี้ยน|ภาษาจีนฮกเกี้ยน]] [[สำเนียงแต้จิ๋ว|ภาษาจีนแต้จิ๋ว]] [[ภาษาอินโดนีเซีย]] [[ภาษาซินด์]] [[ภาษาปัญจาบ]] [[ภาษาเกาหลี]] และ[[ภาษาอาหรับ]]

โดยฟิลิปปินส์นั้น มีภาษาประจำชาติคือ ภาษา ตากาล็อก

=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศฟิลิปปินส์}}
{{Bar box
| title = {{สี|white|ศาสนาในประเทศฟิลิปปินส์}}
| titlebar = blue
| left1 = '''ศาสนา'''
| right1 = '''%'''
| float = right
| bars =
{{Bar percent|[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]]|Blue|92}}
{{Bar percent|[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]|Green|5}}
{{Bar percent|[[ศาสนาพุทธ]]|red|2}}
{{Bar percent|ศาสนาอื่น ๆ|orange|1}}
}}
[[ไฟล์:Philippines Christian-Muslim Division Map (by majority).png|thumb|200px|สัดส่วนของศาสนาต่างๆ ในฟิลิปปินส์ สีน้ำเงินคือ[[ศาสนาคริสต์]] สีเขียวคือ[[ศาสนาอิสลาม]]]]
ในปี ค.ศ. 2014<ref>[https://en.wikipedia.org/wiki/Religion_in_the_Philippines] Religion in the Philippines</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีประชากรนับถือ แบ่งได้ดังนี้ [[ศาสนาคริสต์]] 92% ([[นิกายโรมันคาทอลิก]] 82% [[นิกายโปรเตสแตนต์]] 10%) [[ศาสนาอิสลาม]] 5 - 11% [[ศาสนาพุทธ]] 2% และศาสนาอื่น ๆ 1%

=== เมืองที่มีประชากรมากที่สุด ===
{{เมืองใหญ่ในฟิลิปปินส์}}

== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมฟิลิปปินส์}}
ฟิลิปปินส์เป็นประเทศเดียวใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของตะวันตกก่อนจะได้มีโอกาสพัฒนาวัฒนธรรมของตัวเอง วัฒนธรรมฟิลิปปินส์จะมีส่วนคล้ายกับประเทศใน[[ลาตินอเมริกา]] โดยประชาชนแบ่งออกเป็นชุมชนทางเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกัน

=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|อาหารฟิลิปปินส์}}
[[อาโดโบ]] เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นที่นิยมของนักเดินทางหรือนักเดินเขา ทำจากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้ำส้มสายชู กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดำ นำไปทำให้สุกโดยใส่ในเตาอบหรือทอด และรับประทานกับข้าว

=== ศิลปะ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศฟิลิปปินส์}}
{{โครง-ส่วน}}

=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|ฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก|ฟิลิปปินส์ในเอเชียนเกมส์}}

== หมายเหตุ ==
{{notelist}}

== ดูเพิ่ม ==

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links|voy=Philippines}}

; รัฐบาล
* [http://www.gov.ph/ Official website of the Official Gazette of the Philippines]
* [http://www.congress.gov.ph/ Official website of the House of Representatives of the Philippines]
* [http://www.judiciary.gov.ph/ Official website of the Supreme Court of the Philippines]
* [http://www.bsp.gov.ph/ Official website of Bangko Sentral ng Pilipinas (Central Bank of the Philippines)]
* [http://www.neda.gov.ph/ Official website of the National Economic and Development Authority (NEDA)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160804003832/http://www.neda.gov.ph/ |date=2016-08-04 }}
* [http://www.bas.gov.ph/ Official website of the Bureau of Agricultural Statistics] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20111104041657/http://www.bas.gov.ph/ |date=2011-11-04 }}
* [http://www.pnp.gov.ph/ Official website of the Philippine National Police (PNP)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170712170542/http://www.pnp.gov.ph/ |date=2017-07-12 }}
* [http://www.tourism.gov.ph/ Official website of the Department of Tourism]

; ข้อมูลพื้นฐาน
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-p/philippines.html Chiefs of State and Cabinet Members] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100528053331/https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-p/philippines.html |date=2010-05-28 }}
* [http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-15521300 Philippines profile] from the [[BBC News]]
* [https://web.archive.org/web/20110521230339/http://ucblibraries.colorado.edu/govpubs/for/philippines.htm Philippines] at UCB Libraries GovPubs
* [http://www.wiki.answers.com/Q/FAQ/2802 WikiAnswers: Q&A about the Philippines] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130404124037/http://wiki.answers.com/Q/FAQ/2802 |date=2013-04-04 }}
* {{Wikia|Philippines|Philippines}}
* {{CIA World Factbook link|rp|Philippines}}
* {{dmoz|Regional/Oceania/Philippines}}
* [http://www.britannica.com/EBchecked/topic/456399/Philippines Philippines] at ''[[Encyclopædia Britannica]]''
* [http://www.noypi.ph/ Philippine News and Current Events]
* [http://www.pima.org/contentpage/News.aspx Philippines News and Press Release Distribution] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120905083444/http://www.pima.org/contentpage/News.aspx |date=2012-09-05 }}
* [http://www.ifs.du.edu/ifs/frm_CountryProfile.aspx?Country=PH Key Development Forecasts for the Philippines] from [[International Futures]]

; หนังสือ และ หัวข้อที่นาสนใจ
* [http://www.gutenberg.org/browse/authors/b#a2296 History of the Philippine Islands] in many volumes, from [[Project Gutenberg]] (indexed under [[Emma Helen Blair]], the general editor)
* [http://newsweek.washingtonpost.com/postglobal/america/philippines/ Washington Post – How the Philippines Sees America]

; สื่อ
<!--Do not add commercial links or your website. Suggest them via the discussion page. Failure to do so will mean the deletion of your websites as spam.-->
* [[meta:Wikimedia Philippines|Wikimedia Philippines]]
* {{Wikiatlas|Philippines}}

; อื่น ๆ
<!--Do not add commercial links or your website. Suggest them via the discussion page. Failure to do so will mean the deletion of your websites as spam.-->
* [http://www.adb.org/ Asian Development Bank (ADB)]
* [http://www.filipiniana.net/ Filipinana.net – Free digital library and a research portal]
* [http://www.wikimapia.org/#y=12554564&x=122915039&z=6&l=0&m=a WikiSatellite view of Philippines] at [[WikiMapia]]
* {{วิกิท่องเที่ยว-บรรทัด|Philippines}}

{{ประเทศฟิลิปปินส์}}
{{เอเชีย}}
{{อาเซียน}}
{{เอเปค}}
{{พันธมิตรนอกนาโต}}
{{การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก}}

[[หมวดหมู่:ประเทศฟิลิปปินส์| ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศฟิลิปปินส์| ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐ|ฟ]]
[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐ|ฟ]]
บรรทัด 465: บรรทัด 10:
[[หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ]]
[[หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ]]
ประเทศเศษเดน สวะ ขยะสังคม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:34, 14 มกราคม 2566

ประเทศเศษเดน สวะ ขยะสังคม