ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮโปทาลามัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://brainmaps.org/index.php?q=Hypothalamus BrainMaps at UCDavis]
* [http://www.endotext.org/neuroendo/neuroendo3b/neuroendo3b.htm The Hypothalamus and Pituitary at endotexts.org] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060514115805/http://www.endotext.org/neuroendo/neuroendo3b/neuroendo3b.htm |date=2006-05-14 }}


[[หมวดหมู่:ระบบต่อมไร้ท่อ]]
[[หมวดหมู่:ระบบต่อมไร้ท่อ]]
บรรทัด 18: บรรทัด 14:
[[หมวดหมู่:ซีรีบรัม]]
[[หมวดหมู่:ซีรีบรัม]]
[[หมวดหมู่:ประสาทกายวิภาคศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ประสาทกายวิภาคศาสตร์]]
{{โครงกายวิภาค}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:26, 22 พฤศจิกายน 2565

ไฮโปทาลามัส () มาจากภาษากรีซ ὑποθαλαμος แปลว่า ใต้ เป็นโครงสร้างของสมองที่อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือ (brain stem) ทำหน้าที่เชื่อมโยงการทำงานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่างของ (diencephalon) พบในของทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาดประมาณเมล็ด

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการบางอย่าง และหน้าที่อื่นๆ ของ (Autonomic Nervous System) ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่สังเคราะห์และหลั่งประสาท (neurohormones) ซึ่งมักเรียกว่า hypothalamic-releasing hormones ซึ่งทำหน้าที่ในการกระตุ้นหรือยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนจาก (pituitary gland)

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย, , ความกระหายน้ำ, ความเหนื่อยล้า, ความโกรธ และ (Circadian rhythm)

ไฮโปทาลามัสเป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด ความหิว การนอนหลับ การหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ การหลั่งน้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร ความสมดุลของน้ำในร่างกายและการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึก

อ้างอิง