ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคเคน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Cocaine-3D-balls-2.png|thumb|ส่วนประกอบทางเคมีของโคเคน]]
[[ไฟล์:Cocaine-3D-balls-2.png|thumb|ส่วนประกอบทางเคมีของโคเคน]]


บรรทัด 5: บรรทัด 4:


โคเคนเป็นสารเสพติดเนื่องจากมีฤทธิ์ต่อวิถีรางวัลในสมอง มีความเสี่ยงติดสูงหลังใช้ระยะสั้น นอกจากนี้ ยังเพิ่มความเสี่ยงของ[[โรคหลอดเลือดสมอง]] [[กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด]] โรคปอดในผู้สูบโคเคน การติดเชื้อในกระแสเลือด และหัวใจวายเฉียบพลัน<ref name=Pom2012/><ref name=Sor2014>{{cite journal | vauthors = Sordo L, Indave BI, Barrio G, Degenhardt L, de la Fuente L, Bravo MJ | title = Cocaine use and risk of stroke: a systematic review | journal = Drug and Alcohol Dependence | volume = 142 | pages = 1–13 | date = September 2014 | pmid = 25066468 | doi = 10.1016/j.drugalcdep.2014.06.041 }}</ref> โคเคนที่ขายตามถนนมักผสมกับยาชาท้องถิ่น แป้งข้าวโพด [[ควินิน]]หรือน้ำตาล ซึ่งอาจทำให้มีพิษเพิ่มเติมอีก<ref name=Gold2009>{{cite journal | vauthors = Goldstein RA, DesLauriers C, Burda AM | title = Cocaine: history, social implications, and toxicity--a review | journal = Disease-A-Month | volume = 55 | issue = 1 | pages = 6–38 | date = January 2009 | pmid = 19081448 | doi = 10.1016/j.disamonth.2008.10.002 }}</ref> หลังการใช้ซ้ำ ๆ บุคคลอาจรู้สึกถึงสุขารมณ์ได้ลดลงและอาจรู้สึกเหนื่อย
โคเคนเป็นสารเสพติดเนื่องจากมีฤทธิ์ต่อวิถีรางวัลในสมอง มีความเสี่ยงติดสูงหลังใช้ระยะสั้น นอกจากนี้ ยังเพิ่มความเสี่ยงของ[[โรคหลอดเลือดสมอง]] [[กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด]] โรคปอดในผู้สูบโคเคน การติดเชื้อในกระแสเลือด และหัวใจวายเฉียบพลัน<ref name=Pom2012/><ref name=Sor2014>{{cite journal | vauthors = Sordo L, Indave BI, Barrio G, Degenhardt L, de la Fuente L, Bravo MJ | title = Cocaine use and risk of stroke: a systematic review | journal = Drug and Alcohol Dependence | volume = 142 | pages = 1–13 | date = September 2014 | pmid = 25066468 | doi = 10.1016/j.drugalcdep.2014.06.041 }}</ref> โคเคนที่ขายตามถนนมักผสมกับยาชาท้องถิ่น แป้งข้าวโพด [[ควินิน]]หรือน้ำตาล ซึ่งอาจทำให้มีพิษเพิ่มเติมอีก<ref name=Gold2009>{{cite journal | vauthors = Goldstein RA, DesLauriers C, Burda AM | title = Cocaine: history, social implications, and toxicity--a review | journal = Disease-A-Month | volume = 55 | issue = 1 | pages = 6–38 | date = January 2009 | pmid = 19081448 | doi = 10.1016/j.disamonth.2008.10.002 }}</ref> หลังการใช้ซ้ำ ๆ บุคคลอาจรู้สึกถึงสุขารมณ์ได้ลดลงและอาจรู้สึกเหนื่อย

โคเคนออกฤทธิ์ยับยั้งการดูดกลับของเซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดปามีน ทำให้มีสารสื่อประสาทสามชนิดดังกล่าวเพิ่มขึ้นในสมอง<ref name=Pom2012/> ทั้งหมดสามารถผ่าน[[ตัวกั้นระหว่างเลือดกับสมอง]] และอาจทำให้ตัวกั้นดังกล่าวเสียหายได้<ref>{{cite journal| vauthors = Sharma HS, Muresanu D, Sharma A, Patnaik R | title = Cocaine-induced breakdown of the blood-brain barrier and neurotoxicity | volume = 88 | pages = 297–334 | year = 2009 | pmid = 19897082 | doi = 10.1016/S0074-7742(09)88011-2 | isbn = 978-0-12-374504-0 | journal = International Review of Neurobiology}}</ref><ref>{{cite book|last1=Karch|first1=Steven B. | name-list-format = vanc |title=Karch's pathology of drug abuse|date=2009|publisher=CRC Press|location=Boca Raton|isbn=978-0-8493-7881-2|page=70|edition=4|url=https://books.google.com/books?id=G9E7gfJq0KkC&pg=PA70|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170910234911/https://books.google.com/books?id=G9E7gfJq0KkC&pg=PA70|archive-date=10 September 2017}}</ref> ในปี 2013 มีการผลิตโคเคนทั่วโลก 419 กิโลกรัม<ref name=UN2015>{{cite book|title=Narcotic Drugs 2014|date=2015|publisher=International Narcotics Control Board | isbn = 9789210481571 | page = 21 | url = https://www.incb.org/documents/Narcotic-Drugs/Technical-Publications/2014/Narcotic_Drugs_Report_2014.pdf | url-status=live | archive-url=https://web.archive.org/web/20150602192211/https://www.incb.org/documents/Narcotic-Drugs/Technical-Publications/2014/Narcotic_Drugs_Report_2014.pdf|archive-date=2 June 2015}}</ref> ประมาณว่าตลาดค้าโคเคนผิดกฎหมายมีมูลค่า 100,000–500,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี<ref name=Pom2012/>

โคเคนเป็นยาที่ใช้ผิดกฎหมายทั่วโลกมากที่สุดเป็นอันดับสอง รองจาก[[กัญชา]]<ref>{{cite journal | vauthors = Karila L, Zarmdini R, Petit A, Lafaye G, Lowenstein W, Reynaud M | title = [Cocaine addiction: current data for the clinician] | journal = Presse Médicale | volume = 43 | issue = 1 | pages = 9–17 | date = January 2014 | pmid = 23727012 | doi = 10.1016/j.lpm.2013.01.069 }}</ref> มีผู้ใช้โคเคนระหวา่ง 14 ถึง 21 ล้านคนต่อปี พบใช้มากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ ตามมาด้วยทวีปยุโรปและอเมริกาใต้ บุคคลในประเทศพัฒนาแล้วระหว่าง 1 ถึง 3% เคยใช้โคเคนครั้งหนึ่งในชีวิต<ref name=Pom2012/> ในปี 2013 การใช้โคเคนเป็นสาเหตุโดยตรงทำให้มีผู้เสียชีวิต 4,300 คน เพิ่มขึ้นจาก 2,400 คนในปี 1990<ref name=GDB2013>{{cite journal | title = Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013 | journal = Lancet | volume = 385 | issue = 9963 | pages = 117–71 | date = January 2015 | pmid = 25530442 | pmc = 4340604 | doi = 10.1016/S0140-6736(14)61682-2 | author1 = GBD 2013 Mortality Causes of Death Collaborators }}</ref> ตั้งชื่อตามต้นโคคาที่แยกสารดังกล่าวได้<ref name="Zimmerman2012"/> ใบของต้นโคคานั้นชาวเปรูได้ใช้มาแต่โบราณ มีการแยกโคเคนได้จากใบครั้งแรกในปี 1860<ref name=Pom2012/> นับแต่ปี 1961 อนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดระหว่างประเทศบังคับให้ประเทศต่าง ๆ กำหนดให้การใช้โคเคนเพื่อนันทนาการเป็นอาชญากรรม<ref>{{cite journal | vauthors = Room R, Reuter P | title = How well do international drug conventions protect public health? | journal = Lancet | volume = 379 | issue = 9810 | pages = 84–91 | date = January 2012 | pmid = 22225673 | doi = 10.1016/s0140-6736(11)61423-2|quote = The international treaties have also constrained national policy experimentation because they require nation states to criminalise drug use}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:07, 1 สิงหาคม 2563

ส่วนประกอบทางเคมีของโคเคน

โคเคน (อังกฤษ: cocaine) เป็นสารกระตุ้นอย่างเข้มที่มักใช้เป็นยาเพื่อนันทนาการ[1] ทั่วไปเสพโดยการสูด สูบควัน หรือละลายแล้วฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ฤทธิ์ต่อจิตประสาท เช่น การเสียการรับรู้ความเป็นจริง รู้สึกสุขยิ่งยิ่ง หรือกระสับกระส่าย อาการทางกาย เช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อตก และรูม่านตาขยาย[2] ขนาดสูงอาจทำให้ความดันโลหิตหรืออุณหภูมิกายสูงมากได้[3] เริ่มออกฤทธิ์ภายในไม่กี่วินาทีหรือนาทีหลังใช้ และอยู่ได้ระหว่าง 5 ถึง 90 นาที[2] โคโคนในปริมาณน้อยมีที่ยอมรับให้ใช้ทางการแพทย์เป็นยาชาและลดการตกเลือดระหว่างการผ่าตัดจมูก[4]

โคเคนเป็นสารเสพติดเนื่องจากมีฤทธิ์ต่อวิถีรางวัลในสมอง มีความเสี่ยงติดสูงหลังใช้ระยะสั้น นอกจากนี้ ยังเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด โรคปอดในผู้สูบโคเคน การติดเชื้อในกระแสเลือด และหัวใจวายเฉียบพลัน[1][5] โคเคนที่ขายตามถนนมักผสมกับยาชาท้องถิ่น แป้งข้าวโพด ควินินหรือน้ำตาล ซึ่งอาจทำให้มีพิษเพิ่มเติมอีก[6] หลังการใช้ซ้ำ ๆ บุคคลอาจรู้สึกถึงสุขารมณ์ได้ลดลงและอาจรู้สึกเหนื่อย

โคเคนออกฤทธิ์ยับยั้งการดูดกลับของเซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดปามีน ทำให้มีสารสื่อประสาทสามชนิดดังกล่าวเพิ่มขึ้นในสมอง[1] ทั้งหมดสามารถผ่านตัวกั้นระหว่างเลือดกับสมอง และอาจทำให้ตัวกั้นดังกล่าวเสียหายได้[7][8] ในปี 2013 มีการผลิตโคเคนทั่วโลก 419 กิโลกรัม[9] ประมาณว่าตลาดค้าโคเคนผิดกฎหมายมีมูลค่า 100,000–500,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี[1]

โคเคนเป็นยาที่ใช้ผิดกฎหมายทั่วโลกมากที่สุดเป็นอันดับสอง รองจากกัญชา[10] มีผู้ใช้โคเคนระหวา่ง 14 ถึง 21 ล้านคนต่อปี พบใช้มากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ ตามมาด้วยทวีปยุโรปและอเมริกาใต้ บุคคลในประเทศพัฒนาแล้วระหว่าง 1 ถึง 3% เคยใช้โคเคนครั้งหนึ่งในชีวิต[1] ในปี 2013 การใช้โคเคนเป็นสาเหตุโดยตรงทำให้มีผู้เสียชีวิต 4,300 คน เพิ่มขึ้นจาก 2,400 คนในปี 1990[11] ตั้งชื่อตามต้นโคคาที่แยกสารดังกล่าวได้[2] ใบของต้นโคคานั้นชาวเปรูได้ใช้มาแต่โบราณ มีการแยกโคเคนได้จากใบครั้งแรกในปี 1860[1] นับแต่ปี 1961 อนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดระหว่างประเทศบังคับให้ประเทศต่าง ๆ กำหนดให้การใช้โคเคนเพื่อนันทนาการเป็นอาชญากรรม[12]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Pomara C, Cassano T, D'Errico S, Bello S, Romano AD, Riezzo I, Serviddio G (2012). "Data available on the extent of cocaine use and dependence: biochemistry, pharmacologic effects and global burden of disease of cocaine abusers". Current Medicinal Chemistry. 19 (33): 5647–57. doi:10.2174/092986712803988811. PMID 22856655.
  2. 2.0 2.1 2.2 Zimmerman JL (October 2012). "Cocaine intoxication". Critical Care Clinics. 28 (4): 517–26. doi:10.1016/j.ccc.2012.07.003. PMID 22998988.
  3. Connors NJ, Hoffman RS (November 2013). "Experimental treatments for cocaine toxicity: a difficult transition to the bedside". The Journal of Pharmacology and Experimental Therapeutics. 347 (2): 251–7. doi:10.1124/jpet.113.206383. PMID 23978563.
  4. Harper SJ, Jones NS (October 2006). "Cocaine: what role does it have in current ENT practice? A review of the current literature". The Journal of Laryngology and Otology. 120 (10): 808–11. doi:10.1017/s0022215106001459. PMID 16848922.
  5. Sordo L, Indave BI, Barrio G, Degenhardt L, de la Fuente L, Bravo MJ (September 2014). "Cocaine use and risk of stroke: a systematic review". Drug and Alcohol Dependence. 142: 1–13. doi:10.1016/j.drugalcdep.2014.06.041. PMID 25066468.
  6. Goldstein RA, DesLauriers C, Burda AM (January 2009). "Cocaine: history, social implications, and toxicity--a review". Disease-A-Month. 55 (1): 6–38. doi:10.1016/j.disamonth.2008.10.002. PMID 19081448.
  7. Sharma HS, Muresanu D, Sharma A, Patnaik R (2009). "Cocaine-induced breakdown of the blood-brain barrier and neurotoxicity". International Review of Neurobiology. 88: 297–334. doi:10.1016/S0074-7742(09)88011-2. ISBN 978-0-12-374504-0. PMID 19897082.
  8. Karch, Steven B. (2009). Karch's pathology of drug abuse (4 ed.). Boca Raton: CRC Press. p. 70. ISBN 978-0-8493-7881-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2017. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |name-list-format= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  9. Narcotic Drugs 2014 (PDF). International Narcotics Control Board. 2015. p. 21. ISBN 9789210481571. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2015.
  10. Karila L, Zarmdini R, Petit A, Lafaye G, Lowenstein W, Reynaud M (January 2014). "[Cocaine addiction: current data for the clinician]". Presse Médicale. 43 (1): 9–17. doi:10.1016/j.lpm.2013.01.069. PMID 23727012.
  11. GBD 2013 Mortality Causes of Death Collaborators (January 2015). "Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013". Lancet. 385 (9963): 117–71. doi:10.1016/S0140-6736(14)61682-2. PMC 4340604. PMID 25530442. {{cite journal}}: |author1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  12. Room R, Reuter P (January 2012). "How well do international drug conventions protect public health?". Lancet. 379 (9810): 84–91. doi:10.1016/s0140-6736(11)61423-2. PMID 22225673. The international treaties have also constrained national policy experimentation because they require nation states to criminalise drug use