ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
'''มะเร็ง''' หรือทางการแพทย์ว่า '''เนื้องอกร้าย''' ({{lang-en|'''[[malignancy|malignant]] [[neoplasm|tumor]]'''}}) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจ[[การแพร่กระจาย|แพร่กระจาย]]ไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้<ref name=WHO2014/><ref name=NCI2014>{{cite web|title=Defining Cancer|url=http://www.cancer.gov/cancertopics/cancerlibrary/what-is-cancer|website=National Cancer Institute|accessdate=10 June 2014}}</ref>ผ่านระบบ[[น้ำเหลือง]]หรือกระแส[[เลือด]] แต่ไม่ใช่[[เนื้องอก]]ทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะ[[เนื้องอกไม่ร้าย]]จะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย<ref name=NCI2014/> สัญญาณและอาการของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:.. มีก้อนเนื้อเกิดใหม่, มีเลือดออกผิดปกติ, มีการไอเป็นเวลานาน, การสูญเสียน้ำหนักที่อธิบายไม่ได้, และการเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายของลำไส้และอื่น ๆ<ref name=NHS2012>{{cite web|title=Cancer - Signs and symptoms|url=http://www.nhs.uk/Conditions/Cancer/Pages/Symptoms.aspx|website=NHS Choices|accessdate=10 June 2014}}</ref> แต่อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัญหาอื่น ๆได้เช่นกัน<ref name=NHS2012/> มีมะเร็งที่ส่งผลต่อมนุษย์ที่ทราบแล้วกว่า 100 ชนิด<ref name=NCI2014/>
'''มะเร็ง''' หรือทางการแพทย์ว่า '''เนื้องอกร้าย''' ({{lang-en|'''[[malignancy|malignant]] [[neoplasm|tumor]]'''}}) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจ[[การแพร่กระจาย|แพร่กระจาย]]ไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้<ref name=WHO2014/><ref name=NCI2014>{{cite web|title=Defining Cancer|url=http://www.cancer.gov/cancertopics/cancerlibrary/what-is-cancer|website=National Cancer Institute|accessdate=10 June 2014}}</ref>ผ่านระบบ[[น้ำเหลือง]]หรือกระแส[[เลือด]] แต่ไม่ใช่[[เนื้องอก]]ทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะ[[เนื้องอกไม่ร้าย]]จะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย<ref name=NCI2014/> สัญญาณและอาการของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:.. มีก้อนเนื้อเกิดใหม่, มีเลือดออกผิดปกติ, มีการไอเป็นเวลานาน, การสูญเสียน้ำหนักที่อธิบายไม่ได้, และการเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายของลำไส้และอื่น ๆ<ref name=NHS2012>{{cite web|title=Cancer - Signs and symptoms|url=http://www.nhs.uk/Conditions/Cancer/Pages/Symptoms.aspx|website=NHS Choices|accessdate=10 June 2014}}</ref> แต่อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัญหาอื่น ๆได้เช่นกัน<ref name=NHS2012/> มีมะเร็งที่ส่งผลต่อมนุษย์ที่ทราบแล้วกว่า 100 ชนิด<ref name=NCI2014/>


สาเหตุของมะเร็งนั้นมีหลากหลาย ซับซ้อนและเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น มีหลายปัจจัยที่ทราบแล้วว่าเพิ่มปัจจัยเสี่ยงมะเร็ง ได้แก่ การสูบบุหรี่ (อัตราการตาย 22%<ref name=WHO2014>{{cite web|title=Cancer Fact sheet N°297|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs297/en/|website=World Health Organization|accessdate=10 June 2014|date=February 2014}}</ref>) ปัจจัยด้านอาหาร, การขาดกิจกรรมการออกกำลังกาย, [[โรคอ้วน]], และการบริโภคแอลกอฮอล์ (อัตราการตายรวมกัน 10%<ref name=WHO2014/>) นอกนั้นเป็น[[การติดเชื้อ]]บางอย่าง, การสัมผัส[[รังสี]], และมลภาวะสิ่งแวดล้อม<ref name=Enviro2008>{{cite journal | author = Anand P, Kunnumakkara AB, Kunnumakara AB, Sundaram C, Harikumar KB, Tharakan ST, Lai OS, Sung B, Aggarwal BB | title = Cancer is a preventable disease that requires major lifestyle changes | journal = Pharm. Res. | volume = 25 | issue = 9 | pages = 2097–116 |date=September 2008 | pmid = 18626751 | pmc = 2515569 | doi = 10.1007/s11095-008-9661-9 }}</ref> ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เกือบ 20% ของโรคมะเร็งเกิดจากการคิดเชื้อเช่น[[โรคตับอักเสบ]]จากไวรัสชนิด B, ชนิด C, และ [[human papillomavirus]].<ref name=WHO2014/> โดยทั่วไปก่อนที่มะเร็งจะพ้ฒนาขึ้น การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างของยีนจะเกิดขึ้นก่อน<ref name=WCR2014Bio/> ประมาณ 5–10% ของมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่<ref name="ACS-heredity">{{cite web | publisher = [[American Cancer Society]] | title = Heredity and Cancer | accessdate = July 22, 2013 | url = http://www.cancer.org/cancer/cancercauses/geneticsandcancer/heredity-and-cancer}}</ref> ปัจจัยเหล่านี้สามารถทำให้ยีนเสียหายโดยตรง<ref name=WCR2014Bio>{{cite book|title=World Cancer Report 2014.|date=2014|publisher=World Health Organization|isbn=9283204298|pages=Chapter 1.1}}</ref> หรืออาจประกอบกับความบกพร่องทางพันธุกรรมที่มีอยู่เดิมในเซลล์ก่อให้เกิด[[การกลายพันธุ์]]เป็นมะเร็งได้<ref name="Kinz">{{cite book | author = Kinzler, Kenneth W.; Vogelstein, Bert | title = The genetic basis of human cancer | edition = 2nd, illustrated, revised| publisher = McGraw-Hill, Medical Pub. Division | location = New York | year = 2002 | page = 5| isbn = 978-0-07-137050-9 | url = http://books.google.com/?id=pYG09OPbXp0C| chapter=Introduction |chapterurl=http://books.google.co.uk/books?id=pYG09OPbXp0C&pg=PA5}}</ref> มะเร็งราว 5–10% สามารถติดตามไปยังความบกพร่องทางพันธุกรรมแต่กำเนิดโดยตรง<ref name="ACS-heredity">{{cite web | publisher = [[American Cancer Society]] | title = Heredity and Cancer | accessdate = July 22, 2013 | url = http://www.cancer.org/cancer/cancercauses/geneticsandcancer/heredity-and-cancer}}</ref> มะเร็งหลายชนิดสามารถป้องกันได้โดยการไม่สูบบุหรี่ ทานผัก ผลไม้และธัญพืชเต็มเมล็ด (whole grain) มากขึ้น ทานเนื้อและคาร์โบไฮเดรตขัดสี (refined) น้อยลง ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกาย จำกัดการรับแสงอาทิตย์ และรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางชนิด<ref name=Enviro2008/><ref name=Kushi2012>{{cite journal |author=Kushi LH, Doyle C, McCullough M, ''et al.'' |title=American Cancer Society Guidelines on nutrition and physical activity for cancer prevention: reducing the risk of cancer with healthy food choices and physical activity |journal=CA Cancer J Clin |volume=62 |issue=1 |pages=30–67 |year=2012 |pmid=22237782 |doi=10.3322/caac.20140 |url=http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.3322/caac.20140/pdf}}</ref>
สาเหตุของมะเร็งนั้นมีหลากหลาย ซับซ้อนและเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น มีหลายปัจจัยที่ทราบแล้วว่าเพิ่มปัจจัยเสี่ยงมะเร็ง ได้แก่ การสูบบุหรี่ (อัตราการตาย 22%<ref name=WHO2014>{{cite web|title=Cancer Fact sheet N°297|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs297/en/|website=World Health Organization|accessdate=10 June 2014|date=February 2014}}</ref>) ปัจจัยด้านอาหาร, การขาดกิจกรรมการออกกำลังกาย, [[โรคอ้วน]], และการบริโภคแอลกอฮอล์ (อัตราการตายรวมกัน 10%<ref name=WHO2014/>) นอกนั้นเป็น[[การติดเชื้อ]]บางอย่าง, การสัมผัส[[รังสี]], และมลภาวะสิ่งแวดล้อม<ref name=Enviro2008>{{cite journal | author = Anand P, Kunnumakkara AB, Kunnumakara AB, Sundaram C, Harikumar KB, Tharakan ST, Lai OS, Sung B, Aggarwal BB | title = Cancer is a preventable disease that requires major lifestyle changes | journal = Pharm. Res. | volume = 25 | issue = 9 | pages = 2097–116 |date=September 2008 | pmid = 18626751 | pmc = 2515569 | doi = 10.1007/s11095-008-9661-9 }}</ref> ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เกือบ 20% ของโรคมะเร็งเกิดจากการคิดเชื้อเช่น[[โรคตับอักเสบ]]จากไวรัสชนิด B, ชนิด C, และ [[human papillomavirus]].<ref name=WHO2014/> โดยทั่วไปก่อนที่มะเร็งจะพ้ฒนาขึ้น การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างของยีนจะเกิดขึ้นก่อน<ref name=WCR2014Bio/> ประมาณ 5–10% ของมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่<ref name="ACS-heredity">{{cite web | publisher = [[American Cancer Society]] | title = Heredity and Cancer | accessdate = July 22, 2013 | url = http://www.cancer.org/cancer/cancercauses/geneticsandcancer/heredity-and-cancer}}</ref> ปัจจัยเหล่านี้สามารถทำให้ยีนเสียหายโดยตรง<ref name=WCR2014Bio>{{cite book|title=World Cancer Report 2014.|date=2014|publisher=World Health Organization|isbn=9283204298|pages=Chapter 1.1}}</ref> หรืออาจประกอบกับความบกพร่องทางพันธุกรรมที่มีอยู่เดิมในเซลล์ก่อให้เกิด[[การกลายพันธุ์]]เป็นมะเร็งได้<ref name="Kinz">{{cite book | author = Kinzler, Kenneth W.; Vogelstein, Bert | title = The genetic basis of human cancer | edition = 2nd, illustrated, revised| publisher = McGraw-Hill, Medical Pub. Division | location = New York | year = 2002 | page = 5| isbn = 978-0-07-137050-9 | url = http://books.google.com/?id=pYG09OPbXp0C| chapter=Introduction |chapterurl=http://books.google.co.uk/books?id=pYG09OPbXp0C&pg=PA5}}</ref> มะเร็งราว 5–10% สามารถติดตามไปยังความบกพร่องทางพันธุกรรมแต่กำเนิดโดยตรง<ref name="ACS-heredity">{{cite web | publisher = [[American Cancer Society]] | title = Heredity and Cancer | accessdate = July 22, 2013 | url = http://www.cancer.org/cancer/cancercauses/geneticsandcancer/heredity-and-cancer}}</ref>

มะเร็งสามารถตรวจพบได้หลายวิธี รวมทั้งการมีอาการและอาการแสดงบางอย่าง การตรวจคัดกรองโรค<ref name=WHO2014/> จากนั้น จะต้องทำการสร้างภาพทางการแพทย์ เมื่อตรวจพบว่ามีโอกาสเป็นมะเร็งแล้ว จะมีการวินิจฉัยเพื่อยืนยันโดยการตรวจตัวอย่างชิ้นเนื้อ ({{lang-en|biopsy}})<ref>{{cite web|title=How is cancer diagnosed?|url=http://www.cancer.org/treatment/understandingyourdiagnosis/examsandtestdescriptions/testingbiopsyandcytologyspecimensforcancer/testing-biopsy-and-cytology-specimens-for-cancer-how-is-cancer-diagnosed|website=American Cancer Society|date=2013-01-29|accessdate=10 June 2014}}</ref>

มะเร็งหลายประเภทสามารถป้องกันได้โดยการไม่สูบบุหรี่, รักษาน้ำหนักตัวเพื่อสุขภาพที่ดี, ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป, กินอาหารประเภทผักผลไม้และธัญพืชมากๆ, ฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางอย่าง, ไม่กินเนื้อแดงมากเกินไป, และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแสงแดดมากเกินไป<ref name=Kushi2012>{{cite journal |author=Kushi LH, Doyle C, McCullough M |title=American Cancer Society Guidelines on nutrition and physical activity for cancer prevention: reducing the risk of cancer with healthy food choices and physical activity |journal=CA Cancer J Clin |volume=62 |issue=1 |pages=30–67 |year=2012 |pmid=22237782 |doi=10.3322/caac.20140 |display-authors=etal}}</ref><ref>{{cite journal|last1=Parkin|first1=DM|last2=Boyd|first2=L|last3=Walker|first3=LC|title=16. The fraction of cancer attributable to lifestyle and environmental factors in the UK in 2010.|journal=British journal of cancer|date=6 December 2011|volume=105 Suppl 2|pages=S77-81|pmid=22158327|doi=10.1038/bjc.2011.489}}</ref> การตรวจพบแต่เนิ่นๆผ่านการตรวจคัดกรองจะเป็นประโยชน์สำหรับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่<ref name=WCR2014Scr>{{cite book|title=World Cancer Report 2014.|date=2014|publisher=World Health Organization|isbn=9283204298|pages=Chapter 4.7}}</ref> ประโยชน์ของการตรวจคัดกรองสำหรับมะเร็งเต้านมยังมีความขัดแย้ง<ref name=WCR2014Scr/><ref name=Got2013>{{cite journal | author = Gøtzsche PC, Jørgensen KJ | title = Screening for breast cancer with mammography. | journal = The Cochrane database of systematic reviews | volume = 6 | pages = CD001877 | date = 4 Jun 2013 | pmid = 23737396 | doi = 10.1002/14651858.CD001877.pub5 }}</ref> โรคมะเร็งมักจะได้รับการรักษาผสมกันของการรักษาด้วยรังสีบางอย่าง, การผ่าตัด, การรักษาด้วยเคมีบำบัด, และการรักษาด้วยการกำหนดเป้​​าหมาย<ref name=WHO2014/><ref>{{cite web|title=Targeted Cancer Therapies|url=http://www.cancer.gov/cancertopics/factsheet/Therapy/targeted|website=NCI|accessdate=11 June 2014|date=2014-04-25}}</ref> การจัดการกับการปวดและอาการอื่นเป็นส่วนสำคัญของการดูแล การดูแลแบบประคับประคองเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่โรคมีการพัฒนาไปมาก<ref name=WHO2014/> โอกาสของการอยู่รอดขึ้นอยู่กับชนิดของโรคมะเร็งและระยะของโรคในช่วงเริ่มต้นของการรักษา<ref name="WCR2014Bio"/> ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ที่วินิจฉัยอัตราการรอดตายในช่วงห้าปีใน โลกที่พัฒนาแล้วโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 80%<ref name=WCR2014Peads>{{cite book|title=World Cancer Report 2014.|date=2014|publisher=World Health Organization|isbn=9283204298|pages=Chapter 1.3}}</ref> สำหรับโรคมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการรอดตายห้าปีเฉลี่ยอยู่ที่ 66%<ref>{{cite web|title=SEER Stat Fact Sheets: All Cancer Sites|url=http://seer.cancer.gov/statfacts/html/all.html|website=National Cancer Institute|accessdate=18 June 2014}}</ref>


มะเร็งสามารถตรวจพบได้หลายวิธี รวมทั้งการมีอาการและอาการแสดงบางอย่าง การตรวจคัดกรองโรค<ref name=WHO2014/> จากนั้น จะต้องทำการสร้างภาพทางการแพทย์ เมื่อตรวจพบว่ามีโอกาสเป็นมะเร็งแล้ว จะมีการวินิจฉัยโดยการตรวจตัวอย่างเนื้อเยื่อด้วยกล้องจุลทรรศน์<ref>{{cite web|title=How is cancer diagnosed?|url=http://www.cancer.org/treatment/understandingyourdiagnosis/examsandtestdescriptions/testingbiopsyandcytologyspecimensforcancer/testing-biopsy-and-cytology-specimens-for-cancer-how-is-cancer-diagnosed|website=American Cancer Society|date=2013-01-29|accessdate=10 June 2014}}</ref> โดยปกติ มะเร็งจะรักษาด้วยเคมีบำบัด รังสีบำบัดและการผ่าตัด โอกาสการรอดชีวิตของโรคมีหลากหลายมากขึ้นอยู่กับชนิดและตำแหน่งของมะเร็งและขอบเขตของโรคเมื่อเริ่มต้นการรักษา มะเร็งสามารถเกิดในบุคคลทุกช่วงอายุ แต่ความเสี่ยงการกลายเป็นมะเร็งนั้นโดยปกติจะเพิ่มขึ้นตามอายุ ยกเว้นมะเร็งน้อยชนิดที่พบมากกว่าในเด็ก ในปี 2550 มะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของมนุษย์ 13% ทั่วโลก (7.9 ล้านคน) อัตรานี้เพิ่มสูงขึ้นเพราะมีผู้รอดชีวิตถึงวัยชรามากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตครั้งใหญ่ในประเทศกำลังพัฒนา<ref name=Epi11/>
==นิยาม==
==นิยาม==
==อาการและอาการแสดง==
==อาการและอาการแสดง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:26, 4 มิถุนายน 2558

มะเร็ง
(อังกฤษ: Cancer)
ไฟล์:Normal cancer cell division from NIH.png
เมื่อเซลล์ปกติเสียหาย หรือแก่ตัวลง เซลล์จะผ่านกระบวนการตายของเซลล์ (อังกฤษ: Apoptosis) แต่เซลล์มะเร็งจะไม่ยอมผ่านกระบวนการนี้
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10C00C97
ICD-9140239
DiseasesDB28843
MedlinePlus001289
MeSHD009369
มะเร็ง
ภาพจากการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แสดงเนื้อร้ายมีโซเธลิโอมา(มะเร็งที่หายากชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการสัมผัสกับแร่ใยหิน)
ความหมาย: → เนื้องอก ←, ✱ น้ำซึมซ่านในช่องเยื่อหุ้มปอดกลาง, 1 & 3 ปอดs, 2 กระดูกสันหลัง, 4 ซี่โครงs, 5 เส้นเลือดใหญ่ที่นำเลือดออกจากหัวใจด้านซ้าย, 6 ม้าม, 7 & 8 ไต, 9 ตับ.
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10C00C97
ICD-9140239
DiseasesDB28843
MedlinePlus001289
MeSHD009369

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (อังกฤษ: malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้[1][2]ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย[2] สัญญาณและอาการของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:.. มีก้อนเนื้อเกิดใหม่, มีเลือดออกผิดปกติ, มีการไอเป็นเวลานาน, การสูญเสียน้ำหนักที่อธิบายไม่ได้, และการเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายของลำไส้และอื่น ๆ[3] แต่อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัญหาอื่น ๆได้เช่นกัน[3] มีมะเร็งที่ส่งผลต่อมนุษย์ที่ทราบแล้วกว่า 100 ชนิด[2]

สาเหตุของมะเร็งนั้นมีหลากหลาย ซับซ้อนและเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น มีหลายปัจจัยที่ทราบแล้วว่าเพิ่มปัจจัยเสี่ยงมะเร็ง ได้แก่ การสูบบุหรี่ (อัตราการตาย 22%[1]) ปัจจัยด้านอาหาร, การขาดกิจกรรมการออกกำลังกาย, โรคอ้วน, และการบริโภคแอลกอฮอล์ (อัตราการตายรวมกัน 10%[1]) นอกนั้นเป็นการติดเชื้อบางอย่าง, การสัมผัสรังสี, และมลภาวะสิ่งแวดล้อม[4] ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เกือบ 20% ของโรคมะเร็งเกิดจากการคิดเชื้อเช่นโรคตับอักเสบจากไวรัสชนิด B, ชนิด C, และ human papillomavirus.[1] โดยทั่วไปก่อนที่มะเร็งจะพ้ฒนาขึ้น การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างของยีนจะเกิดขึ้นก่อน[5] ประมาณ 5–10% ของมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่[6] ปัจจัยเหล่านี้สามารถทำให้ยีนเสียหายโดยตรง[5] หรืออาจประกอบกับความบกพร่องทางพันธุกรรมที่มีอยู่เดิมในเซลล์ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์เป็นมะเร็งได้[7] มะเร็งราว 5–10% สามารถติดตามไปยังความบกพร่องทางพันธุกรรมแต่กำเนิดโดยตรง[6]

มะเร็งสามารถตรวจพบได้หลายวิธี รวมทั้งการมีอาการและอาการแสดงบางอย่าง การตรวจคัดกรองโรค[1] จากนั้น จะต้องทำการสร้างภาพทางการแพทย์ เมื่อตรวจพบว่ามีโอกาสเป็นมะเร็งแล้ว จะมีการวินิจฉัยเพื่อยืนยันโดยการตรวจตัวอย่างชิ้นเนื้อ (อังกฤษ: biopsy)[8]

มะเร็งหลายประเภทสามารถป้องกันได้โดยการไม่สูบบุหรี่, รักษาน้ำหนักตัวเพื่อสุขภาพที่ดี, ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป, กินอาหารประเภทผักผลไม้และธัญพืชมากๆ, ฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางอย่าง, ไม่กินเนื้อแดงมากเกินไป, และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแสงแดดมากเกินไป[9][10] การตรวจพบแต่เนิ่นๆผ่านการตรวจคัดกรองจะเป็นประโยชน์สำหรับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่[11] ประโยชน์ของการตรวจคัดกรองสำหรับมะเร็งเต้านมยังมีความขัดแย้ง[11][12] โรคมะเร็งมักจะได้รับการรักษาผสมกันของการรักษาด้วยรังสีบางอย่าง, การผ่าตัด, การรักษาด้วยเคมีบำบัด, และการรักษาด้วยการกำหนดเป้​​าหมาย[1][13] การจัดการกับการปวดและอาการอื่นเป็นส่วนสำคัญของการดูแล การดูแลแบบประคับประคองเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่โรคมีการพัฒนาไปมาก[1] โอกาสของการอยู่รอดขึ้นอยู่กับชนิดของโรคมะเร็งและระยะของโรคในช่วงเริ่มต้นของการรักษา[5] ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ที่วินิจฉัยอัตราการรอดตายในช่วงห้าปีใน โลกที่พัฒนาแล้วโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 80%[14] สำหรับโรคมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการรอดตายห้าปีเฉลี่ยอยู่ที่ 66%[15]

นิยาม

อาการและอาการแสดง

สาเหตุ

พยาธิสรีรวิทยา

การวินิจฉัย

การจำแนกประเภท

การป้องกัน

การตรวจคัดกรอง

การรักษา

พยากรณ์โรค

วิทยาการระบาด

มะเร็งในประเทศไทย

ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง 66,000 ราย โดยในผู้ชายพบมะเร็งปอดมากที่สุด 5,535 ราย รองลงมาคือโรคมะเร็งตับ ส่วนผู้หญิงพบมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด 1,484 ราย รองลงมาคือ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม[16]

ในปี พ.ศ. 2553 สถิติมะเร็งที่พบมากที่สุด 10 อันดับแรกในประเทศไทย[17]

อันดับ โรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศชาย จำนวน (%) โรคมะเร็งที่พบบ่อยในเพศหญิง จำนวน (%)
1 Trachea, Bronchus, Lung
หลอดลม, ปอด
23.6 Breast
เต้านม
47.8
2 Colon, Rectum
ลำไส้ใหญ่
21.5 Cervix uteri
คอมดลูก
16.2
3 Liver, Bile ducts
ตับ, ท่อน้ำดี
17.3 Colon, Rectum
ลำไส้ใหญ่
10.4
4 Esophagus
หลอดอาหาร
8.2 Trachea, Bronchus, Lung
หลอดลม, ปอด
7.1
5 Nasopharynx
คอหอยส่วนจมูก
6.6 Corpus uteri
มดลูก
4.0
6 Non-Hodgkin lymphoma
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดแพร่กระจายเร็ว
6.4 Ovary
รังไข่
4.0
7 Tongue
ลิ้น
4.8 Liver, Bile ducts
ตับ
3.5
8 Mouth
ปาก
4.5 Thyroid
ไทรอยด์
2.6
9 Larynx
กล่องเสียง
3.7 Non-Hodgkin lymphoma
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดแพร่กระจายเร็ว
2.4
10 Stomach
กระเพาะอาหาร
3.6 Stomach
กระเพาะอาหาร
2.0

ประวัติศาสตร์

สังคมและวัฒนธรรม

การวิจัย

การตั้งครรภ์

สัตว์อื่นๆ

โภชนาการกับโรคมะเร็ง

การกินและพฤติกรรมเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้เป็นอย่างมาก อาหารบางประเภท มีสารที่ต้านอนุมูลอิสระได้สูงและป้องกันการเกิดมะเร็งได้ดี เราเรียกอาหารประเภทนี้ว่า อาหารต้านมะเร็ง [18] โดย บรอกโคลี, อโวคาโด , แครอท, ฯลฯ เป็นหนึ่งในอาหารต้านมะเร็งที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป

จากการศึกษาพบว่า อาหารอาจมีส่วนสัมพันธ์ กับการเกิดโรคมะเร็งได้ประมาณ 30-50% แต่ในขณะเดียวกันอาหารประเภทพืชผัก ผลไม้ ธัญพืช และ เครื่องเทศต่างๆ ก็มี คุณสมบัติในการป้องกันมะเร็งได้ ดังนั้น การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องตามหลัก โภชนาการ จึงเป็นหนทางหนึ่ง ซึ่งสามารถป้องกันโรคมะเร็งได้

การปฏิบัติ ป้องกันโรค
รับประทานผักตระกูลกะหล่ำให้มาก เช่น กะหล่าปลี, กะหล่ำดอก, ผักคะน้า, หัวผักกาด, บรอคโคลี่ เพื่อป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, ลำไส้ส่วนปลาย, กระเพาะอาหาร และอวัยวะระบบทางเดินหายใจ
รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก, ผลไม้, ข้าว, ข้าวโพด และเมล็ดธัญพืชอื่น ๆ เพื่อป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่
รับประทานอาหารที่มีเบต้าแคโรทีน และวิตามินเอสูง เช่น ผัก ผลไม้สีเขียว-เหลือง เพื่อป้องกันมะเร็งหลอดอาหาร กล่องเสียง และปอด
รับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ผัก ผลไม้ต่าง ๆ เพื่อป้องกันมะเร็งหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร
ควบคุมน้ำหนักตัว โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับโรคมะเร็งมดลูก, ถุงน้ำดี, เต้านม และลำไส้ใหญ่ การออกกำลังกายและการลดรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูง จะช่วยป้องกันมะเร็งเหล่านี้ได้

[19]

อาหารที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็ง

  1. อาหารที่มีราขึ้นโดยเฉพาะราสีเขียว-สีเหลือง
  2. อาหารไขมันสูง
  3. อาหารเค็มจัด ส่วนไหม้เกรียมของอาหารปิ้ง ย่าง รมควัน และอาหารที่ถนอมด้วยเกลือ ดินประสิว[20]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "Cancer Fact sheet N°297". World Health Organization. February 2014. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Defining Cancer". National Cancer Institute. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  3. 3.0 3.1 "Cancer - Signs and symptoms". NHS Choices. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  4. Anand P, Kunnumakkara AB, Kunnumakara AB, Sundaram C, Harikumar KB, Tharakan ST, Lai OS, Sung B, Aggarwal BB (September 2008). "Cancer is a preventable disease that requires major lifestyle changes". Pharm. Res. 25 (9): 2097–116. doi:10.1007/s11095-008-9661-9. PMC 2515569. PMID 18626751.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. 5.0 5.1 5.2 World Cancer Report 2014. World Health Organization. 2014. pp. Chapter 1.1. ISBN 9283204298.
  6. 6.0 6.1 "Heredity and Cancer". American Cancer Society. สืบค้นเมื่อ July 22, 2013.
  7. Kinzler, Kenneth W.; Vogelstein, Bert (2002). "Introduction". The genetic basis of human cancer (2nd, illustrated, revised ed.). New York: McGraw-Hill, Medical Pub. Division. p. 5. ISBN 978-0-07-137050-9. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  8. "How is cancer diagnosed?". American Cancer Society. 2013-01-29. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  9. Kushi LH, Doyle C, McCullough M; และคณะ (2012). "American Cancer Society Guidelines on nutrition and physical activity for cancer prevention: reducing the risk of cancer with healthy food choices and physical activity". CA Cancer J Clin. 62 (1): 30–67. doi:10.3322/caac.20140. PMID 22237782.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  10. Parkin, DM; Boyd, L; Walker, LC (6 December 2011). "16. The fraction of cancer attributable to lifestyle and environmental factors in the UK in 2010". British journal of cancer. 105 Suppl 2: S77-81. doi:10.1038/bjc.2011.489. PMID 22158327.
  11. 11.0 11.1 World Cancer Report 2014. World Health Organization. 2014. pp. Chapter 4.7. ISBN 9283204298.
  12. Gøtzsche PC, Jørgensen KJ (4 Jun 2013). "Screening for breast cancer with mammography". The Cochrane database of systematic reviews. 6: CD001877. doi:10.1002/14651858.CD001877.pub5. PMID 23737396.
  13. "Targeted Cancer Therapies". NCI. 2014-04-25. สืบค้นเมื่อ 11 June 2014.
  14. World Cancer Report 2014. World Health Organization. 2014. pp. Chapter 1.3. ISBN 9283204298.
  15. "SEER Stat Fact Sheets: All Cancer Sites". National Cancer Institute. สืบค้นเมื่อ 18 June 2014.
  16. เผยคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเกือบ 7 หมื่น มะเร็งปอดสูงสุด
  17. ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
  18. อาหารต้านมะเร็ง
  19. กลุ่มงานโภชนวิทยา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
  20. โภชนาการกับโรคมะเร็ง สถาบันมะเร็งแห่งชาติ