ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูนา 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox spaceflight
{{Infobox spaceflight
| name = ''เมชตา''<br/>''Мечта''
| name = ''เมตตา''
| image = RIAN archive 510848 Interplanetary station Luna 1 - blacked.jpg
| image = www.mata.facebook.com
|auto=wikipedia}}
| image_caption = แบบจำลองในพิพิธภัณฑ์


| mission_type = ยานปะทะดวงจันทร์<ref name=Siddiqi>{{cite web|last=Siddiqi|first=Asif A|date=2018|title=Beyond Earth: A Chronicle of Deep Space Exploration, 1958–2016|url=https://www.nasa.gov/sites/default/files/atoms/files/beyond-earth-tagged.pdf|format=PDF|work=The NASA history series|edition=second|place=Washington, DC|publisher=NASA History Program Office|isbn=978-1-62683-042-4|lccn=2017059404|page=11}}</ref>
| operator = [[สหภาพโซเวียต]]
| Harvard_designation = 1959 Mu 1<ref name=gunter>{{cite web|url=https://space.skyrocket.de/doc_sdat/luna_e1.htm|title=Luna Ye-1|website=Gunter's Space Page|access-date=November 9, 2019}}</ref>
| COSPAR_ID = 1959-012A<ref name=nssdc>{{cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraft/display.action?id=1959-012A|title=Luna 1|website=NASA Space Science Data Coordinated Archive}}</ref>
| SATCAT = 112<ref name=nssdc />
| mission_duration = ประมาณ 62 ชั่วโมง{{sfn|Siddiqi|2018|p=11}}
| orbits_completed =

| spacecraft_type =
| manufacturer = [[:en:OKB-1|ОКБ-1]]
| dry_mass =
| launch_mass = {{convert|361|kg}}
| dimensions =
| power =

| launch_date = 2 มกราคม 1959 16:41:21&nbsp;UTC
| launch_rocket = [[:en:Luna (rocket)|ลูนา]] 8K72
| launch_site = [[ท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์|บัยโกเงอร์]] [[:en:Baikonur Cosmodrome Site 1|1/5]]
| launch_contractor =
| last_contact = 5 มกราคม 1959
| orbit_epoch = 1 มกราคม 1959, 19:00:00&nbsp;UTC<ref name="NSSDCTrajectory">{{Cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraft/displayTrajectory.action?id=1959-012A|title=Luna 1 Launch and Trajectory Information|website=NASA Space Science Data Coordinated Archive|access-date=2018-05-02|df=}}</ref>
| orbit_reference = [[:en:Heliocentric orbit|โคจรรอบดวงอาทิตย์]]
| orbit_periapsis = 0.9766&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์
| orbit_apoapsis = 1.315&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์
| orbit_inclination = 0.01&nbsp;องศา
| orbit_semimajor = 1.146&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์
| orbit_eccentricity = 0.14767
| orbit_period = 450&nbsp;วัน
| apsis = helion
| programme = [[:en:Luna_programme|โครงการลูนา]]
| previous_mission = [[:en:Luna E-1 No.3|ลูนา E-1 หมายเลข 3]]
| next_mission = [[:en:Luna E-1A No.1|ลูนา E-1A หมายเลข 1]]
|interplanetary =
{{Infobox spaceflight/IP
|type = impactor_flyby
|object = [[ดวงจันทร์]]
|arrival_date = 4 มกราคม 1959
|distance = {{convert|5995|km}}
}}
}}

'''ลูนา 1''' (อี-1 ซีรีส์) ซึ่งในขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ '''เมชตา''' ({{lang-ru|Мечта}}; "ความฝัน"), '''E-1 หมายเลข 4'''<ref>{{Cite book|author=David Darling|title=The complete book of spaceflight: from Apollo 1 to zero gravity|url=https://archive.org/details/completebookspac00darl_464|publisher=John Wiley and Sons|date=2003|page=[https://archive.org/details/completebookspac00darl_464/page/n246 244]|isbn=0471056499}}</ref> เป็นยานอวกาศลำแรกที่เดินทางไปถึงบริเวณใกล้เคียงของดวงจันทร์ และเป็นลำแรกในโครงการลูนาของ[[โซเวียต]]ที่สามารถปล่อยขึ้นไปในทิศทางเดียวกับดวงจันทร์ได้สำเร็จ ลูนา 1 ซึ่งภารกิจเป็นยานปะทะดวงจันทร์ แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากการจุดจรวดท่อนบนที่ผิดเวลาในระหว่างการปล่อย ทำให้พลาดเป้าจากดวงจันทร์ โดยเป็นยานอวกาศลำแรกที่ออกจาก[[วงโคจร]]รอบโลก ลูนา 1 บินผ่านดวงจันทร์ด้วยระยะใกล้สุด 5,900 กิโลเมตร (มากกว่าสามเท่าของขนาดรัศมีดวงจันทร์) และกลายเป็นยานอวกาศที่อยู่ใน[[วงโคจรรอบดวงอาทิตย์]]เป็นลำแรก ถูกขนานนามว่าเป็น "ดาวเคราะห์ดวงใหม่" และเปลี่ยนชื่อเป็นเมชตา<ref>{{Cite book|last=Cormack|first=Lesley B.|date=2012|title=A History of Science in Society: From Philosophy to Utility|url=https://archive.org/details/historyofscience0000edea_p7p0|edition=2nd|publisher=University of Toronto Press|isbn=978-1-4426-0446-9|page=[https://archive.org/details/historyofscience0000edea_p7p0/page/342 342]}}</ref> และยังถูกเรียกว่าเป็น "First Cosmic Rocket" จากความสำเร็จในการหลุดพ้นแรงดึงดูดโลก

ขณะเดินทางผ่าน[[แถบรังสีแวนอัลเลน]]ชั้นนอก เครื่องมือตรวจวัดรังสีของยานสามารถตรวจจับอนุภาคพลังงานสูงปริมาณเล็กน้อยที่มีอยู่ในวงแหวนชั้นนอก ค่าที่ได้จากการตรวจวัดดังกล่าวทำให้ได้ข้อมูลใหม่เกี่ยวกับแถบรังสีของโลกและอวกาศ ปรากฏว่าดวงจันทร์ไม่มี[[สนามแม่เหล็ก]]ที่สามารถตรวจพบได้ นอกจากนี้ ลูนา 1 ยังเป็นครั้งแรกที่มีการสังเกตและตรวจวัด[[ลมสุริยะ]]โดยตรง<ref name="bharv">{{Cite book|author=Brian Harvey|title=Russian planetary exploration: history, development, legacy, prospects|publisher=Springer|date=2007|page=26|isbn=0387463437}}</ref><ref name="ddar">{{Cite web|url=http://www.daviddarling.info/encyclopedia/L/Luna.html|title=Luna|author=David Darling|work=Internet Encyclopedia of Science}}</ref><ref>{{Cite web |url=http://nssdc.gsfc.nasa.gov/database/MasterCatalog?sc=1959-012A |title=Luna 1 |publisher=[[NASA]] National Space Science Data Center |accessdate=4 August 2007 |archive-date=2007-03-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070311024226/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/database/MasterCatalog?sc=1959-012A |url-status=dead }}</ref> ความเข้มข้นของพลาสมาที่ถูกเปลี่ยนเป็นไอออนดังกล่าววัดปริมาณได้ราว 700 อนุภาคต่อ ลบ.ซม. ที่ระดับความสูง 20,000-25,000 กิโลเมตร และ 300 ถึง 400 อนุภาคต่อ ลบ.ซม. ที่ระดับความสูง 100,000-150,000 กิโลเมตร<ref name="BSE59">{{cite book | title=Yearbook of the Great Soviet Encyclopedia | year=1959 | publisher=Sovetskaya Enciklopediya | location=Moscow | language=ru|issn=0523-9613 | chapter=Soviet Space Rocket | chapter-url=http://epizodsspace.testpilot.ru/bibl/ejeg/1959/59.html#l1|archive-url=https://web.archive.org/web/20080321142228/http://epizodsspace.testpilot.ru/bibl/ejeg/1959/59.html|archive-date=2008-03-21}}</ref> ลูนา 1 ยังได้มีการติดต่อทางวิทยุเป็นครั้งแรกจากระยะทางครึ่งล้านกิโลเมตรจากพื้นโลก
[[ไฟล์:Block-E_rocket_stage.png|thumb|upright|left|160px|ชุดขับดันลูนา 1 [[:en:Blok E|Blok E]] ส่วนบนและการจัดวางสัมภาระยานปะทะดวงจันทร์]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:28, 18 มีนาคม 2567

เมตตา
ไฟล์:Www.mata.facebook.com
COSPAR ID1959-012A
SATCAT no.00112แก้ไขบนวิกิสนเทศ
 


อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น