ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมยุบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
KSRB2000 (คุย | ส่วนร่วม)
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Sinkhole.jpg|200px|thumb|หลุมยุบ]]
[[ไฟล์:Sinkhole.jpg|200px|thumb|หลุมยุบ]]
'''หลุมยุบ''' ({{lang-en|sinkhole}}) คือ ธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่ง ที่มีลักษณะพื้นผิวพังทลายเป็นหลุม ซึ่งเกิดจากหินตะกอนที่มีองค์ประกอบทางเคมีจำพวก[[คาร์บอเนต]] เช่น [[หินปูน]] ชั้นเกลือ หรือ หินตามธรรมชาติที่สามารถถูกละลายด้วยน้ำ ซึ่งเมื่อเกิดการไหลเวียนของน้ำใต้ดิน จะทำให้หินใต้ดินดังกล่าวละลาย เกิดช่องว่างใต้ดินขึ้น จนถึงจุดๆหนึ่งที่บริเวณพื้นผิวมีน้ำหนักมากเกินไป จะทำให้เกิดการถล่ม เกิดเป็นหลุมยุบ
'''หลุมยุบ''' ({{lang-en|sinkhole}}) คือ ธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่ง ที่มีลักษณะพื้นผิวพังทลายเป็นหลุม ซึ่งเกิดจากหินตะกอนที่มีองค์ประกอบทางเคมีจำพวก[[คาร์บอเนต]] เช่น [[หินปูน]] ชั้นเกลือ หรือ หินตามธรรมชาติที่สามารถถูกละลายด้วยน้ำ ซึ่งเมื่อเกิดการไหลเวียนของน้ำใต้ดิน จะทำให้หินใต้ดินดังกล่าวละลาย เกิดช่องว่างใต้ดินขึ้น จนถึงจุดๆหนึ่งที่บริเวณพื้นผิวมีน้ำหนักมากเกินไป จะทำให้เกิดการถล่ม เกิดเป็นหลุมยุบ<ref name=":0">{{Cite book|last=Williams|first=Paul|url=https://books.google.com/books?id=bhiJ10Xx9VwC|title=Encyclopedia of Caves and Karst Science|date=2004|publisher=Taylor & Francis|isbn=978-1-57958-399-6|editor-last=Gunn|editor-first=John|pages=628–642|language=en|chapter=Dolines}}</ref><ref name=":1">{{cite web|last=Kohl|first=Martin|year=2001|title=Subsidence and sinkholes in East Tennessee. A field guide to holes in the ground|url=https://www.tn.gov/assets/entities/environment/attachments/geology_sink-hole.pdf|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20150714081131/http://www.tn.gov/assets/entities/environment/attachments/geology_sink-hole.pdf|archive-date=14 July 2015|access-date=18 February 2014|publisher=State of Tennessee}}</ref><ref>{{cite book|title=The Dictionary of Physical Geography|publisher=John Wiley & Sons|year=2009|isbn=978-1444313161|editor1-last=Thomas|editor1-first=David|edition=3rd|location=Chichester|page=440|editor2-last=Goudie|editor2-first=Andrew}}</ref><ref name=":2">{{Cite journal|last=Monroe|first=Watson Hiner|date=1970|title=A glossary of Karst terminology|journal=U.S. Geological Survey Water Supply Paper|volume=1899-K|doi=10.3133/wsp1899k|doi-access=free}}</ref>


หลุมยุบปรากฏและพบมากในหลายๆ รัฐของ[[ประเทศอเมริกา]] เช่น ฟลอริดา เท็กซัส อลับามา เคนตักกี้ และเพนซิวาเนีย เป็นต้น
หลุมยุบปรากฏและพบมากในหลายๆ รัฐของ[[ประเทศอเมริกา]] เช่น ฟลอริดา เท็กซัส อลับามา เคนตักกี้ และเพนซิวาเนีย เป็นต้น


สาเหตุการเกิดหลุมยุบ ไม่จำเป็นต้องเกิดจากธรรมชาติเท่านั้น อาจจะจากการกระทำของมนุษย์ได้ เช่น การใช้งานที่ดินทางด้านชลประทานหรือการสูบน้ำ เพื่อการก่อสร้างและพัฒนา หรือมีการก่อสร้างและส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนทางน้ำ หรือระบบทางน้ำธรรมชาติใหม่ หรือ มีการปล่อยน้ำจากโรงงานอุตสาหรรม ซึ่งจากที่กล่าวมาทำให้เกิดหลุมยุบได้
สาเหตุการเกิดหลุมยุบ ไม่จำเป็นต้องเกิดจากธรรมชาติเท่านั้น อาจจะจากการกระทำของมนุษย์ได้ เช่น การใช้งานที่ดินทางด้านชลประทานหรือการสูบน้ำ เพื่อการก่อสร้างและพัฒนา หรือมีการก่อสร้างและส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนทางน้ำ หรือระบบทางน้ำธรรมชาติใหม่ หรือ มีการปล่อยน้ำจากโรงงานอุตสาหรรม ซึ่งจากที่กล่าวมาทำให้เกิดหลุมยุบได้ หรือการบรรทุกของที่หนักเกินไป ถนนที่รถบรรทุกวิ่งผ่านมากๆ ย่อมทำให้เกิดหลุมยุบได้เร็วยิ่งขึ้น
หรือการบรรทุกของที่หนักเกินไป ถนนที่รถบรรทุกวิ่งผ่านมากๆ ย่อมทำให้เกิดหลุมยุบได้เร็วยิ่งขึ้น


== กระบวนการเกิดหลุมยุบ ==
== กระบวนการเกิดหลุมยุบ ==
หลุมยุบจากธรรมชาติส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการละลายของชั้นหินด้วยสารละลายที่เป็น[[กรด]]หรือน้ำฝนที่เป็นกรดไหลซึมลงใต้ดิน เมื่อหินจำพวกคาร์บอเนต เช่น [[หินปูน]] หิน[[โดโลไมต์]] ทำปฏิกิริยากับน้ำสารละลายกรดก็จะเกิดการละลายกลายเป็นโพรงหรือช่องว่างใต้ผิวดิน
หลุมยุบจากธรรมชาติส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการละลายของชั้นหินด้วยสารละลายที่เป็น[[กรด]]หรือน้ำฝนที่เป็นกรดไหลซึมลงใต้ดิน เมื่อหินจำพวกคาร์บอเนต เช่น [[หินปูน]] หิน[[โดโลไมต์]] ทำปฏิกิริยากับน้ำสารละลายกรดก็จะเกิดการละลายกลายเป็นโพรงหรือช่องว่างใต้ผิวดิน

[[ไฟล์: กระบวนการเกิดหลุมยุบ.png|110px|framed|center|กระบวนการละลาย]]


== สาเหตุ ==
== สาเหตุ ==
[[ไฟล์: หลุมยุบที่เกิดจากกระบวนละลาย (Dissolution sinkholes).png|thumb|200px|กระบวนละลาย]]
[[ไฟล์:Dissolution sinkhole.png|thumb|200x200px|กระบวนละลาย]]
[[ไฟล์:หลุมยุบที่เกิดจากการทรุดตัวของชั้นดินที่ปกคลุม (Cover-subsidence sinkholes).png|thumb|200px|การทรุดตัวของชั้นดินที่ปกคลุม ]]
[[ไฟล์:Cover-subsidence sinkhole.png|thumb|200x200px|การทรุดตัวของชั้นดินที่ปกคลุม]]
[[ไฟล์:หลุมยุบที่เกิดจากการพังทลายของชั้นดินที่ปกคลุม (Cover-collapse sinkholes).png|thumb|200px|การพังทลายของชั้นดินที่ปกคลุม]]
[[ไฟล์:หลุมยุบที่เกิดจากการพังทลายของชั้นดินที่ปกคลุม (Cover-collapse sinkholes).png|thumb|200x200px|การพังทลายของชั้นดินที่ปกคลุม]]
* การละลายของ[[หินปูน]]หรือหิน[[โดโลไมต์]]สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายเมื่อหินชนิดนี้โผล่พ้นผิวดิน รอยแตกรอยแยกในหินจะเป็นช่องทางให้น้ำฝนหรือน้ำใต้ดินที่เป็นกรดไหลผ่านและทำให้เกิดการละลายขึ้น หลุมยุบลักษณะนี้จะทำให้เกิดหุบเขาขนาดเล็กหรือพื้นที่ทรุดตัวแบบตื้น
* การละลายของ[[หินปูน]]หรือหิน[[โดโลไมต์]]สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายเมื่อหินชนิดนี้โผล่พ้นผิวดิน รอยแตกรอยแยกในหินจะเป็นช่องทางให้น้ำฝนหรือน้ำใต้ดินที่เป็นกรดไหลผ่านและทำให้เกิดการละลายขึ้น หลุมยุบลักษณะนี้จะทำให้เกิดหุบเขาขนาดเล็กหรือพื้นที่ทรุดตัวแบบตื้น<ref name="USGSsinkholesweb2">{{cite web|author=<!--Not stated-->|title=Sinkholes|url=https://www.usgs.gov/special-topic/water-science-school/science/sinkholes?qt-science_center_objects=0#qt-science_center_objects|access-date=29 May 2019|website=Water Science School|publisher=U.S. Geological Survey}}</ref>
* หลุมยุบชนิดนี้เกิดจาก[[การไหล]]ของ[[ตะกอน]]ร่วนจำพวกทรายลงไปตามโพรงหรือช่องว่างที่อยู่ข้างใต้ ในขณะที่บนผิวดินจะค่อยๆ ทรุดตัวลงเนื่องจากตะกอนที่หายไป อัตราการทรุดตัวอาจจะใช้เวลานานหากชั้นดินมีดินเหนียวปน หรือมีความหนาของชั้นดินที่ปิดทับมาก
* หลุมยุบชนิดนี้เกิดจาก[[การไหล]]ของ[[ตะกอน]]ร่วนจำพวกทรายลงไปตามโพรงหรือช่องว่างที่อยู่ข้างใต้ ในขณะที่บนผิวดินจะค่อยๆ ทรุดตัวลงเนื่องจากตะกอนที่หายไป อัตราการทรุดตัวอาจจะใช้เวลานานหากชั้นดินมีดินเหนียวปน หรือมีความหนาของชั้นดินที่ปิดทับมาก
* หลุมยุบชนิดนี้สามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพียงไม่กี่ชั่วโมง และสร้างความเสียหายอย่างมาก ซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณที่หินปูนถูกปิดทับด้วยชั้นตะกอนดินเหนียว หลุมยุบจะมีลักษณะฝนังที่ชัน ตรงกลางเป็นแอ่งรูปชาม
* หลุมยุบชนิดนี้สามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพียงไม่กี่ชั่วโมง และสร้างความเสียหายอย่างมาก ซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณที่หินปูนถูกปิดทับด้วยชั้นตะกอนดินเหนียว หลุมยุบจะมีลักษณะฝนังที่ชัน ตรงกลางเป็นแอ่งรูปชาม
บรรทัด 25: บรรทัด 20:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
<references />
{{เริ่มอ้างอิง}}

* http://ga.water.usgs.gov/edu/earthgwsinkholes.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100528162610/http://ga.water.usgs.gov/edu/earthgwsinkholes.html |date=2010-05-28 }}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{จบอ้างอิง}}

* [http://water.usgs.gov/edu/sinkholes.html US Geological Survey Water Science School page about sinkholes]
* [https://web.archive.org/web/20100613002846/http://www.telegraph.co.uk/earth/earthpicturegalleries/7818648/In-pictures-sinkholes-craters-and-collapsed-roads-around-the-world.html ''Daily Telegraph'' slide show of 31 sinkholes]
* [http://news.bbc.co.uk/2/hi/in_depth/7391071.stm Video of Sinkhole forming in Texas] (8 May 2008)
* Google [http://tnlandforms.us/google.php?trk=usholes map] of deepest "hole" for each state (Andy Martin)
* [http://tnlandforms.us/landforms/sinks.php Tennessee sinkholes] 54,000+ sinkholes
* {{cite news|last=James|first=Vincent|date=18 February 2014|title=What are sinkholes, how do they form and why are we seeing so many?|work=The Independent|url=https://www.independent.co.uk/news/science/sinkholes-what-are-they-how-do-they-form-and-why-are-we-seeing-so-many-9136235.html|access-date=19 February 2014}}


[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 04:26, 31 ธันวาคม 2566

หลุมยุบ

หลุมยุบ (อังกฤษ: sinkhole) คือ ธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่ง ที่มีลักษณะพื้นผิวพังทลายเป็นหลุม ซึ่งเกิดจากหินตะกอนที่มีองค์ประกอบทางเคมีจำพวกคาร์บอเนต เช่น หินปูน ชั้นเกลือ หรือ หินตามธรรมชาติที่สามารถถูกละลายด้วยน้ำ ซึ่งเมื่อเกิดการไหลเวียนของน้ำใต้ดิน จะทำให้หินใต้ดินดังกล่าวละลาย เกิดช่องว่างใต้ดินขึ้น จนถึงจุดๆหนึ่งที่บริเวณพื้นผิวมีน้ำหนักมากเกินไป จะทำให้เกิดการถล่ม เกิดเป็นหลุมยุบ[1][2][3][4]

หลุมยุบปรากฏและพบมากในหลายๆ รัฐของประเทศอเมริกา เช่น ฟลอริดา เท็กซัส อลับามา เคนตักกี้ และเพนซิวาเนีย เป็นต้น

สาเหตุการเกิดหลุมยุบ ไม่จำเป็นต้องเกิดจากธรรมชาติเท่านั้น อาจจะจากการกระทำของมนุษย์ได้ เช่น การใช้งานที่ดินทางด้านชลประทานหรือการสูบน้ำ เพื่อการก่อสร้างและพัฒนา หรือมีการก่อสร้างและส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนทางน้ำ หรือระบบทางน้ำธรรมชาติใหม่ หรือ มีการปล่อยน้ำจากโรงงานอุตสาหรรม ซึ่งจากที่กล่าวมาทำให้เกิดหลุมยุบได้ หรือการบรรทุกของที่หนักเกินไป ถนนที่รถบรรทุกวิ่งผ่านมากๆ ย่อมทำให้เกิดหลุมยุบได้เร็วยิ่งขึ้น

กระบวนการเกิดหลุมยุบ[แก้]

หลุมยุบจากธรรมชาติส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการละลายของชั้นหินด้วยสารละลายที่เป็นกรดหรือน้ำฝนที่เป็นกรดไหลซึมลงใต้ดิน เมื่อหินจำพวกคาร์บอเนต เช่น หินปูน หินโดโลไมต์ ทำปฏิกิริยากับน้ำสารละลายกรดก็จะเกิดการละลายกลายเป็นโพรงหรือช่องว่างใต้ผิวดิน

สาเหตุ[แก้]

กระบวนละลาย
การทรุดตัวของชั้นดินที่ปกคลุม
การพังทลายของชั้นดินที่ปกคลุม
  • การละลายของหินปูนหรือหินโดโลไมต์สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายเมื่อหินชนิดนี้โผล่พ้นผิวดิน รอยแตกรอยแยกในหินจะเป็นช่องทางให้น้ำฝนหรือน้ำใต้ดินที่เป็นกรดไหลผ่านและทำให้เกิดการละลายขึ้น หลุมยุบลักษณะนี้จะทำให้เกิดหุบเขาขนาดเล็กหรือพื้นที่ทรุดตัวแบบตื้น[5]
  • หลุมยุบชนิดนี้เกิดจากการไหลของตะกอนร่วนจำพวกทรายลงไปตามโพรงหรือช่องว่างที่อยู่ข้างใต้ ในขณะที่บนผิวดินจะค่อยๆ ทรุดตัวลงเนื่องจากตะกอนที่หายไป อัตราการทรุดตัวอาจจะใช้เวลานานหากชั้นดินมีดินเหนียวปน หรือมีความหนาของชั้นดินที่ปิดทับมาก
  • หลุมยุบชนิดนี้สามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพียงไม่กี่ชั่วโมง และสร้างความเสียหายอย่างมาก ซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณที่หินปูนถูกปิดทับด้วยชั้นตะกอนดินเหนียว หลุมยุบจะมีลักษณะฝนังที่ชัน ตรงกลางเป็นแอ่งรูปชาม
  • หลุมยุบที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ การรั่วซึมของท่อน้ำใต้ดินสามารถทำให้เกิดการทรุดตัวของพื้นดินได้ มักเกิดในเขตชุมชนเมือง และสามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนสร้างความเสียหายให้กับผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงได้ ซึ่งอาจจะมีรูปร่างของหลุมแตกต่างกันไป การประเมินสาเหตุของหลุบยุบลักษณะนี้ต้องได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียด
  • หลุมยุบจากหินภูเขาไฟ เกิดขึ้นจากการละลายของชั้นหินปูน (หรือหินโดโลไมต์) ที่รองรับอยู่ข้างใต้จนทำให้เกิดโพรงใต้ดิน ซึ่งเมื่อโพรงใต้ดินขยายใหญ่ขึ้นก็จะรับน้ำหนักจากด้านบนไม่ไหว จึงเกิดการถล่มลง กลายเป็นหลุมขนาดใหญ่ พื้นที่ส่วนมากประกอบด้วยหินพัมมิส (pumice) เศษเถ้าภูเขาไฟที่เกาะกันอย่างหลวมๆ และเศษวัสดุต่างๆ
  • หลุมยุบในทะเล หลุมยุบที่พบนอกชายฝั่งของประเทศเบลีซ ริมทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่กลางแนวปะการังที่เรียกว่า Lighthouse Reef มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกว่า 300 เมตร และลึก 124 เมตร เกิดขึ้นในยุคน้ำแข็งของยุคควอเทอร์นารี ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำทะเลมีระดับต่ำกว่าปัจจุบัน

อ้างอิง[แก้]

  1. Williams, Paul (2004). "Dolines". ใน Gunn, John (บ.ก.). Encyclopedia of Caves and Karst Science (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. pp. 628–642. ISBN 978-1-57958-399-6.
  2. Kohl, Martin (2001). "Subsidence and sinkholes in East Tennessee. A field guide to holes in the ground" (PDF). State of Tennessee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 July 2015. สืบค้นเมื่อ 18 February 2014.
  3. Thomas, David; Goudie, Andrew, บ.ก. (2009). The Dictionary of Physical Geography (3rd ed.). Chichester: John Wiley & Sons. p. 440. ISBN 978-1444313161.
  4. Monroe, Watson Hiner (1970). "A glossary of Karst terminology". U.S. Geological Survey Water Supply Paper. 1899-K. doi:10.3133/wsp1899k.
  5. "Sinkholes". Water Science School. U.S. Geological Survey. สืบค้นเมื่อ 29 May 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]