ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอร์เตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ลิงก์แก้ความกำกวม
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Amager Rugporter (4941931513).jpg|thumb|เบียร์พอร์เตอร์ แสดงลักษณะเบียร์ที่มีสีเข้ม]]
{{ต้องการอ้างอิง}}


'''พอร์เตอร์''' ({{lang-en|porter}}) เป็นชนิดหนึ่งของ[[เอล (เบียร์)|เอล]] แต่ต่างกันที่มีสีเข้มกว่า เพราะใช้มอลต์ดำที่มีรสฝาดกว่า[[สเตาต์]] ไม่ใช้น้ำกระด้างในการหมัก ซึ่งเป็นเบียร์ทีหมักด้วย[[ยีสต์หมักลอยผิว]] พอร์เตอร์เป็นเบียร์ที่มีกลิ่นหอมของ[[มอลต์]]และมีรสขมของ[[ฮอปส์]] โดยปกติแล้วจะมีสีเข้ม
'''พอร์เตอร์''' ({{lang-en|porter}}) เป็นชนิดหนึ่งของ[[เบียร์]]]ที่พัฒนาจาก[[กรุงลอนดอน]] ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 <ref name="Hoalst-Pullen">{{cite book|last=Cornell|first=Martyn|title=The Geography of Beer|date=2 March 2020|url=https://books.google.com/books?id=BRHUDwAAQBAJ|publisher=Springer Nature|isbn=978-3-030-41654-6|page=7}}</ref> ลักษณะคล้าย[[เอล]]แต่ต่างกันที่มีสีเข้มกว่า เพราะใช้มอลต์ดำที่มีรสฝาดกว่า[[สเตาต์]] ไม่ใช้น้ำกระด้างในการหมัก ซึ่งเป็นเบียร์ทีหมักด้วย[[ยีสต์หมักลอยผิว]] พอร์เตอร์เป็นเบียร์ที่มีกลิ่นหอมของ[[มอลต์]]และมีรสขมของ[[ฮอปส์]] โดยปกติแล้วจะมีสีเข้ม


ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เครื่องดื่มในกรุงลอนดอนนั้นผสมจากเอล, [[เบียร์]] และ "ทูเพนนี" (เบียร์ที่แรงที่สุด) อย่างละเท่า ๆ กัน ผู้ผลิตชื่อฮาร์วุดได้หมักเบียร์ที่เรียกว่า "อินไทร์" (Entire) จากส่วนผสมทั้งสามข้างต้นประมาณในปี ค.ศ. 1720 และเป็นไปได้ว่าเครื่องดื่มนี้ได้กลายมาเป็นที่รู้จักในชื่อพอร์เตอร์
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เครื่องดื่มในกรุงลอนดอนนั้นผสมจากเอล, [[เบียร์]] และ "ทูเพนนี" (เบียร์ที่แรงที่สุด) อย่างละเท่า ๆ กัน ผู้ผลิตชื่อฮาร์วุดได้หมักเบียร์ที่เรียกว่า "อินไทร์" (Entire) จากส่วนผสมทั้งสามข้างต้นประมาณในปี ค.ศ. 1720 และเป็นไปได้ว่าเครื่องดื่มนี้ได้กลายมาเป็นที่รู้จักในชื่อพอร์เตอร์
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
ใน[[ไอร์แลนด์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่กรุง[[ดับลิน]] เครื่องดื่มนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "เพลนพอร์เตอร์" (plain porter) หรือ "เพลน" ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในกลอน "The Workman's Friend" ของแฟลนน์ โอไบรอัน ว่า "A pint of plain is your only man" ส่วนเครื่องดื่มพอร์เตอร์แบบเข้มข้นเป็นพิเศษนั้นจะเรียกว่าสเตาต์-พอร์เตอร์ และกลายมาเป็นเบียร์สเตาต์ในทุกวันนี้
ใน[[ไอร์แลนด์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่กรุง[[ดับลิน]] เครื่องดื่มนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "เพลนพอร์เตอร์" (plain porter) หรือ "เพลน" ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในกลอน "The Workman's Friend" ของแฟลนน์ โอไบรอัน ว่า "A pint of plain is your only man" ส่วนเครื่องดื่มพอร์เตอร์แบบเข้มข้นเป็นพิเศษนั้นจะเรียกว่าสเตาต์-พอร์เตอร์ และกลายมาเป็นเบียร์สเตาต์ในทุกวันนี้


== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

{{เบียร์}}
[[หมวดหมู่:เบียร์]]
[[หมวดหมู่:เบียร์]]
[[หมวดหมู่:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อังกฤษ]]
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:44, 23 สิงหาคม 2566

เบียร์พอร์เตอร์ แสดงลักษณะเบียร์ที่มีสีเข้ม

พอร์เตอร์ (อังกฤษ: porter) เป็นชนิดหนึ่งของเบียร์]ที่พัฒนาจากกรุงลอนดอน ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 [1] ลักษณะคล้ายเอลแต่ต่างกันที่มีสีเข้มกว่า เพราะใช้มอลต์ดำที่มีรสฝาดกว่าสเตาต์ ไม่ใช้น้ำกระด้างในการหมัก ซึ่งเป็นเบียร์ทีหมักด้วยยีสต์หมักลอยผิว พอร์เตอร์เป็นเบียร์ที่มีกลิ่นหอมของมอลต์และมีรสขมของฮอปส์ โดยปกติแล้วจะมีสีเข้ม

ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เครื่องดื่มในกรุงลอนดอนนั้นผสมจากเอล, เบียร์ และ "ทูเพนนี" (เบียร์ที่แรงที่สุด) อย่างละเท่า ๆ กัน ผู้ผลิตชื่อฮาร์วุดได้หมักเบียร์ที่เรียกว่า "อินไทร์" (Entire) จากส่วนผสมทั้งสามข้างต้นประมาณในปี ค.ศ. 1720 และเป็นไปได้ว่าเครื่องดื่มนี้ได้กลายมาเป็นที่รู้จักในชื่อพอร์เตอร์

เนื่องจากราคาที่สูงขึ้นของมอลต์นั้นส่งผลให้ผู้หมักเบียร์ใช้มอลต์อบมากขึ้นและใส่ฮอปส์มากขึ้นเพื่อเพิ่มรสชาติ ซึ่งนี่ก็อาจเป็นที่มาของการเกิดของเบียร์พอร์เตอร์

ในไอร์แลนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่กรุงดับลิน เครื่องดื่มนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "เพลนพอร์เตอร์" (plain porter) หรือ "เพลน" ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในกลอน "The Workman's Friend" ของแฟลนน์ โอไบรอัน ว่า "A pint of plain is your only man" ส่วนเครื่องดื่มพอร์เตอร์แบบเข้มข้นเป็นพิเศษนั้นจะเรียกว่าสเตาต์-พอร์เตอร์ และกลายมาเป็นเบียร์สเตาต์ในทุกวันนี้

อ้างอิง[แก้]

  1. Cornell, Martyn (2 March 2020). The Geography of Beer. Springer Nature. p. 7. ISBN 978-3-030-41654-6.