ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล ชเตรล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Karl Strehl"
 
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล บุคคล
|image=File:Carl-Strehl-Plakette.JPG
| name = คาร์ล วิลเฮ็ล์ม อันเดรอัส ชเตรล
| native_name = Karl Wilhelm Andreas Strehl
| native_name_lang = de
}}


'''คาร์ล วิลเฮ็ล์ม อันเดรอัส ชเตรล''' ({{lang-de|Karl Wilhelm Andreas Strehl}}) เกิดเมื่อ 30 เมษายน 1864 ในเมือง[[ไบร็อยท์]] และเสียชีวิต 14 มิถุนายน 1940 เป็น[[นักฟิสิกส์]] [[นักดาราศาสตร์]] และ [[ช่างแว่นตา]] [[ประเทศเยอรมนี|ชาวเยอรมัน]]<ref>{{cite web|url=http://www.kurt-hopf.de/astro/strehl.htm|title=Kurt Hopf Astronomie Karl Strehl Strehlwert Definitionshelligkeit|first=Johannes|last=Hopf|website=www.kurt-hopf.de}}</ref> ผู้คิดค้น [[อัตราส่วนชเตรล]] ซึ่งเป็นค่าที่ใช้วัดคุณภาพของ[[กระจกเงาปฐมภูมิ]]สำหรับ[[กล้องโทรทรรศน์]] เขาเป็นคนแรกที่ให้ความสนใจในปัญหาการรบกวน[[บรรยากาศของโลก]]สำหรับการสังเกตทางดาราศาสตร์<ref>{{Cite book|last=Hans Zappe|url=https://books.google.com/books?id=0gwksRktpCQC&dq=Karl%20Strehl&pg=PA219|title=Fundamentals of Micro-Optics|publisher=[[Cambridge University Press]]|year=2010|isbn=978-1-139-49363-5}}</ref>
{{Infobox person/Wikidata|image=}}


ในปี 1985 เขาคำนวณว่า[[จานแอรี]]ที่เกิดจากเลนส์ที่สมบูรณ์แบบจะมีลักษณะอย่างไร และตั้งทฤษฎีว่าอัตราส่วนของความเข้มสูงสุดของจุดเลี้ยวเบนของเลนส์จริงต่อเลนส์ที่สมบูรณ์แบบสามารถใช้ประเมินคุณภาพแสงได้<ref>{{Cite book|last=Neil English|url=https://books.google.com/books?id=fOXuIG1UDwEC&dq=Strehl&pg=PA36|title=Choosing and Using a Refracting Telescope|publisher=Springer Science & Business Media|year=2010|isbn=978-1-4419-6403-8|location=New York|language=en}}</ref>
'''คาร์ล วิลเฮ็ล์ม อันเดรอัส ชเตรล''' (Karl Wilhelm Andreas Strehl''')''' เกิดเมื่อ 30 เมษายน 1864 ในเมือง[[ไบร็อยท์]] และเสียชีวิต 14 มิถุนายน 1940 เป็น[[นักฟิสิกส์]] [[นักดาราศาสตร์]] และ [[ช่างแว่นตา]] [[ประเทศเยอรมนี|ชาวเยอรมัน]]<ref name="kurt hopf">{{De icon}} {{Cite web|last=Kurt Hopf|title={{Lang|de|Dr. Karl Strehl - Fränkischer Gelehrter, Physiker und Optiker von Weltruf}}|url=http://www.kurt-hopf.de/astro/strehl.htm}}</ref> ผู้คิดค้น [[อัตราส่วนชเตรล]] ซึ่งเป็นค่าที่ใช้วัดคุณภาพของ[[กระจกเงาปฐมภูมิ]]สำหรับ[[กล้องโทรทรรศน์]] เขาเป็นคนแรกที่ให้ความสนใจในปัญหาการรบกวน[[บรรยากาศของโลก]]สำหรับการสังเกตทางดาราศาสตร์<ref>{{Cite book|last=Hans Zappe|url={{Google Livres|0gwksRktpCQC|page=219|surligne=Karl%20Strehl}}|title=Fundamentals of Micro-Optics|publisher=[[Cambridge University Press]]|year=2010|isbn=978-1-139-49363-5}}</ref>

ในปี 1985 เขาคำนวณว่า[[จานแอรี]]ที่เกิดจากเลนส์ที่สมบูรณ์แบบจะมีลักษณะอย่างไร และตั้งทฤษฎีว่าอัตราส่วนของความเข้มสูงสุดของจุดเลี้ยวเบนของเลนส์จริงต่อเลนส์ที่สมบูรณ์แบบสามารถใช้ประเมินคุณภาพแสงได้<ref>{{Cite book|last=Neil English|url={{Google Livres|fOXuIG1UDwEC|page=36|surligne=Strehl}}|title=Choosing and Using a Refracting Telescope|publisher=Springer Science & Business Media|year=2010|isbn=978-1-4419-6403-8|location=New York|language=en}}</ref>


== หมายเหตุและการอ้างอิง ==
== หมายเหตุและการอ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:43, 18 สิงหาคม 2566

คาร์ล วิลเฮ็ล์ม อันเดรอัส ชเตรล
Karl Wilhelm Andreas Strehl

คาร์ล วิลเฮ็ล์ม อันเดรอัส ชเตรล (เยอรมัน: Karl Wilhelm Andreas Strehl) เกิดเมื่อ 30 เมษายน 1864 ในเมืองไบร็อยท์ และเสียชีวิต 14 มิถุนายน 1940 เป็นนักฟิสิกส์ นักดาราศาสตร์ และ ช่างแว่นตา ชาวเยอรมัน[1] ผู้คิดค้น อัตราส่วนชเตรล ซึ่งเป็นค่าที่ใช้วัดคุณภาพของกระจกเงาปฐมภูมิสำหรับกล้องโทรทรรศน์ เขาเป็นคนแรกที่ให้ความสนใจในปัญหาการรบกวนบรรยากาศของโลกสำหรับการสังเกตทางดาราศาสตร์[2]

ในปี 1985 เขาคำนวณว่าจานแอรีที่เกิดจากเลนส์ที่สมบูรณ์แบบจะมีลักษณะอย่างไร และตั้งทฤษฎีว่าอัตราส่วนของความเข้มสูงสุดของจุดเลี้ยวเบนของเลนส์จริงต่อเลนส์ที่สมบูรณ์แบบสามารถใช้ประเมินคุณภาพแสงได้[3]

หมายเหตุและการอ้างอิง

  1. Hopf, Johannes. "Kurt Hopf – Astronomie – Karl Strehl Strehlwert Definitionshelligkeit". www.kurt-hopf.de.
  2. Hans Zappe (2010). Fundamentals of Micro-Optics. Cambridge University Press. ISBN 978-1-139-49363-5.
  3. Neil English (2010). Choosing and Using a Refracting Telescope (ภาษาอังกฤษ). New York: Springer Science & Business Media. ISBN 978-1-4419-6403-8.