ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลูกฝี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''การปลูกฝี''' ({{lang-en|inoculation}}) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้ใน[[Immunization|การสร้างภูมิคุ้ม]]กันต่อ[[โรคติดเชื้อ]] โดยบางครั้งอาจมีการใช้คำว่า inoculation ในความหมายเดียวกันกับ vaccination (การให้วัคซีน) และ immunization (การเสริมภูมิคุ้มกัน) อยู่บ้าง อย่างไรก็ดีแต่ละคำมีความหมายในรายละเอียดแตกต่างกันในบางประเด็น โดย inoculation มักมีขั้นตอนของการจงใจทำให้เกิดโรคขึ้นในคนหรือสัตว์
'''การปลูกฝี''' ({{lang-en|inoculation}}) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้ใน[[Immunization|การสร้างภูมิคุ้ม]]กันต่อ[[โรคติดเชื้อ]] โดยบางครั้งอาจมีการใช้คำว่า inoculation ในความหมายเดียวกันกับ vaccination (การให้วัคซีน) และ immunization (การเสริมภูมิคุ้มกัน) อยู่บ้าง อย่างไรก็ดีแต่ละคำมีความหมายในรายละเอียดแตกต่างกันในบางประเด็น โดย inoculation มักมีขั้นตอนของการจงใจทำให้เกิดโรคขึ้นในคนหรือสัตว์
==ต้นกำเนิด==

แต่ตั้งเดิมแล้ว การปลูกฝีมีที่มาจากการป้องกัน[[โรคฝีดาษ]] โดยการนำส่วนประกอบของ[[หนอง (ฝี)|หนอง]]จาก[[ฝี]]ของผู้ป่วยโรคฝีดาษมาฝังในผิวหนังของผู้รับการปลูกฝี ทั้งนี้ในยุคนั้น การติดต่อของโรคฝีดาษมักเกิดจากการติดเชื้อผ่านการสูดเอาละอองที่มีเชื้อเข้าไป ทำให้เกิดการติดเชื้อที่เยื่อเมือกของปาก จมูก หรือระบบหายใจ ก่อนที่จะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อผ่านช่องทางนี้มีอาการรุนแรง แตกต่างจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งผู้ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงเท่า และมักมีการติดเชื้ออยู่เฉพาะที่ผิวหนัง แต่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้เหมือนกัน
แต่ตั้งเดิมแล้ว การปลูกฝีมีที่มาจากการป้องกัน[[โรคฝีดาษ]] โดยการนำส่วนประกอบของ[[หนอง (ฝี)|หนอง]]จาก[[ฝี]]ของผู้ป่วยโรคฝีดาษมาฝังในผิวหนังของผู้รับการปลูกฝี ทั้งนี้ในยุคนั้น การติดต่อของโรคฝีดาษมักเกิดจากการติดเชื้อผ่านการสูดเอาละอองที่มีเชื้อเข้าไป ทำให้เกิดการติดเชื้อที่เยื่อเมือกของปาก จมูก หรือระบบหายใจ ก่อนที่จะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อผ่านช่องทางนี้มีอาการรุนแรง แตกต่างจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งผู้ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงเท่า และมักมีการติดเชื้ออยู่เฉพาะที่ผิวหนัง แต่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้เหมือนกัน ปัจจุบันวิธีปลูกฝีเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคฝีดาษนี้ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า variolation (การปลูกฝีดาษ) โดยการปลูกฝีมีบันทึกย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์ทั้งในอินเดีย แอฟริกา และจีน<ref name="incoindia">{{cite journal | title=[A brief history of vaccines & vaccination in India] |journal=The Indian Journal of Medical Research |volume=139 |issue=4 |pages=491–511 |publisher=Indian Journal of Medical Research | author=Chandrakant, Lahariya | year=2014 |pmc=4078488 |pmid=24927336 }}</ref>
==อ้างอิง==

{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:วิทยาภูมิคุ้มกัน]]
[[หมวดหมู่:วิทยาภูมิคุ้มกัน]]
[[หมวดหมู่:วัคซีนฝีดาษ]]
[[หมวดหมู่:วัคซีนฝีดาษ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:42, 31 พฤษภาคม 2565

การปลูกฝี (อังกฤษ: inoculation) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคติดเชื้อ โดยบางครั้งอาจมีการใช้คำว่า inoculation ในความหมายเดียวกันกับ vaccination (การให้วัคซีน) และ immunization (การเสริมภูมิคุ้มกัน) อยู่บ้าง อย่างไรก็ดีแต่ละคำมีความหมายในรายละเอียดแตกต่างกันในบางประเด็น โดย inoculation มักมีขั้นตอนของการจงใจทำให้เกิดโรคขึ้นในคนหรือสัตว์

ต้นกำเนิด

แต่ตั้งเดิมแล้ว การปลูกฝีมีที่มาจากการป้องกันโรคฝีดาษ โดยการนำส่วนประกอบของหนองจากฝีของผู้ป่วยโรคฝีดาษมาฝังในผิวหนังของผู้รับการปลูกฝี ทั้งนี้ในยุคนั้น การติดต่อของโรคฝีดาษมักเกิดจากการติดเชื้อผ่านการสูดเอาละอองที่มีเชื้อเข้าไป ทำให้เกิดการติดเชื้อที่เยื่อเมือกของปาก จมูก หรือระบบหายใจ ก่อนที่จะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อผ่านช่องทางนี้มีอาการรุนแรง แตกต่างจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งผู้ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงเท่า และมักมีการติดเชื้ออยู่เฉพาะที่ผิวหนัง แต่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้เหมือนกัน ปัจจุบันวิธีปลูกฝีเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคฝีดาษนี้ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า variolation (การปลูกฝีดาษ) โดยการปลูกฝีมีบันทึกย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์ทั้งในอินเดีย แอฟริกา และจีน[1]

อ้างอิง

  1. Chandrakant, Lahariya (2014). "[A brief history of vaccines & vaccination in India]". The Indian Journal of Medical Research. Indian Journal of Medical Research. 139 (4): 491–511. PMC 4078488. PMID 24927336.