ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เปรู
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลเปรู
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้
หัวหน้าผู้ฝึกสอนบราซิล เมาโร มารัสคิวโล
อันดับเอฟไอวีบี41 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน7 (ครั้งแรกเมื่อ 1968)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1988)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1960)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1982)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน8 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4 (1973)
Voleibol.pe (สเปน)

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู (สเปน: Selección femenina de voleibol del Perú) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศเปรู ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเปรู และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ ทีมนี้เป็นหนึ่งในทีมระดับแถวหน้าของโลกในช่วงยุคทศวรรษที่ 1980 และเคยได้รับรางวัลเหรียญเงินจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1964 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1968 – อันดับที่ 4
  • เยอรมนี 1972 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • แคนาดา 1976 เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 7
  • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 6
  • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 11
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 11
  • กรีซ 2004 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 2016ไม่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • สหภาพโซเวียต 1952 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • บราซิล 1960 : อันดับที่ 7
  • สหภาพโซเวียต 1962 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1967 : อันดับที่ 4
  • บัลแกเรีย 1970 : อันดับที่ 15
  • เม็กซิโก 1974 : อันดับที่ 8
  • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 10
  • เปรู 1982 : เหรียญเงิน
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1990 : อันดับที่ 6
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 13
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 10
  • เยอรมนี 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 17
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 15
  • อิตาลี 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

เวิลด์คัพ[แก้]

  • อุรุกวัย 1973 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1977 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1985 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1989 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2015 : อำดับที่ 11

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง 1993 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1994 : อันดับที่ 11
  • จีน 1995 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1996 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1997 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฮ่องกง 1998 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1999 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • มาเก๊า 2001 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • อิตาลี 2003 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • อิตาลี 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 16
  • จีน 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 18
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 22
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 23

แพนอเมริกันคัพ[แก้]

  • เม็กซิโก 2002 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • เม็กซิโก 2003 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • เม็กซิโก 2004 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ปวยร์โตรีโก 2006 : อันดับที่ 6
  • เม็กซิโก 2007 : อันดับที่ 7
  • เม็กซิโก 2008 : อันดับที่ 7
  • สหรัฐ 2009 : อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2011 : อันดับที่ 8
  • เม็กซิโก 2012 : อันดับที่ 7
  • เปรู 2013 : อันดับที่ 8
  • เม็กซิโก 2014 : อันดับที่ 9
  • เปรู 2015 : อันดับที่ 9

วอลเลย์บอลชิงแชมป์อเมริกาใต้[แก้]

  • บราซิล 1951 : เหรียญทองแดง
  • อุรุกวัย 1956 : เหรียญทองแดง
  • บราซิล 1958 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1961 : เหรียญเงิน
  • ชิลี 1962 : เหรียญเงิน
  • อาร์เจนตินา 1964 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1967 : เหรียญทอง
  • เวเนซุเอลา 1969 : เหรียญเงิน
  • อุรุกวัย 1971 : เหรียญทอง
  • โคลอมเบีย 1973 : เหรียญทอง
  • ปารากวัย 1975 : เหรียญทอง
  • เปรู 1977 : เหรียญทอง
  • อาร์เจนตินา 1979 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1981 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1983 : เหรียญทอง
  • เวเนซุเอลา 1985 : เหรียญทอง
  • อุรุกวัย 1987 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1989 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1991 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1993 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1995 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1997 : เหรียญเงิน
  • เวเนซุเอลา 1999 : เหรียญทองแดง
  • อาร์เจนตินา 2001 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • โคลอมเบีย 2003 : เหรียญทองแดง
  • โบลิเวีย 2005 : เหรียญเงิน
  • ชิลี 2007 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 2009 : เหรียญทองแดง
  • เปรู 2011 : เหรียญทองแดง
  • เปรู 2013 : เหรียญทองแดง
  • โคลอมเบีย 2015 : เหรียญเงิน

ชาเลนเจอร์ คัพ

• 2018 — อันดับ 4

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]