ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การเรียนรู้ของเครื่อง (อังกฤษ: machine learning - ML) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในปัญญาประดิษฐ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการศึกษาอัลกอริทึมเชิงสถิติที่สามารถเรียนรู้จากข้อมูล แล้ววางนัยทั่วไปหรือคาดการณ์จากข้อมูลใหม่ที่ยังไม่เคยเห็น และทำภารกิจ (Task (computing)) ต่าง ๆ โดยไม่ต้องระบุคำสั่งอย่างชัดเจน[1] ตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียมสามารถแสดงสมรรถนะเหนือแนวทางรูปแบบอื่น ๆ[2][3]

มีการนำการเรียนรู้ของเครื่องมาใช้ในหลากหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการประมวลภาษาธรรมชาติ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ การรู้จำคำพูด การกรองอีเมล (email filtering) การเกษตร และการแพทย์[4][5] ในการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ การเรียนรู้ของเครื่องเป็นที่รู้จักในอีกชื่อว่าวิทยาการวิเคราะห์เชิงคาดการณ์ (predictive analytics) แม้ว่าการเรียนรู้ของเครื่องไม่ได้มีพื้นฐานเชิงสถิติไปทุกรูปแบบ แต่วิธีวิทยาในสาขานี้มาจากสาขาวิชาสถิติเชิงคำนวณ (Computational statistics) เป็นสำคัญ

พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของการเรียนรู้ของเครื่องประกอบด้วยวิธีการการหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกันคือการทำเหมืองข้อมูลซึ่งสนใจกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสำรวจ (exploratory data analysis) ผ่านการเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอน[7][8]

การเรียนรู้ที่น่าจะถูกต้องโดยประมาณ (Probably approximately correct learning) เป็นกรอบคำอธิบายเชิงทฤษฎีสำหรับการเรียนรู้ของเครื่อง

ความสัมพันธ์กับสาขาอื่น[แก้]

การบีบอัดข้อมูล[แก้]

ฟิสิกส์เชิงสถิติ[แก้]

Analytical and computational techniques derived from deep-rooted physics of disordered systems can be extended to large-scale problems, including machine learning, e.g., to analyze the weight space of deep neural networks.[9] Statistical physics is thus finding applications in the area of medical diagnostics.[10]

อ้างอิง[แก้]

  1. นิยามว่า "without being explicitly programmed" (โดยไม่ต้องโปรแกรมให้ชัดเจน) มักให้ที่มาว่ามาจาก อาเธอร์ ซามูเอล ผู้บัญญัติศัพท์ "machine learning" ใน ค.ศ. 1959 แต่ไม่พบว่ามีวลีนี้ในเอกสารคำต่อคำ แต่อาจเป็นการถอดความ (paraphrase) ที่ปรากฏในภายหลัง ดูที่ "Paraphrasing Arthur Samuel (1959), the question is: How can computers learn to solve problems without being explicitly programmed?" ใน Koza, John R.; Bennett, Forrest H.; Andre, David; Keane, Martin A. (1996). "Automated Design of Both the Topology and Sizing of Analog Electrical Circuits Using Genetic Programming". Artificial Intelligence in Design '96. Artificial Intelligence in Design '96 (ภาษาอังกฤษ). Springer, Dordrecht. pp. 151–170. doi:10.1007/978-94-009-0279-4_9. ISBN 978-94-010-6610-5.
  2. "What is Machine Learning?". IBM (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2023.
  3. Zhou, Victor (20 ธันวาคม 2019). "Machine Learning for Beginners: An Introduction to Neural Networks". Medium (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 มีนาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2021.
  4. Hu, Junyan; Niu, Hanlin; Carrasco, Joaquin; Lennox, Barry; Arvin, Farshad (2020). "Voronoi-Based Multi-Robot Autonomous Exploration in Unknown Environments via Deep Reinforcement Learning". IEEE Transactions on Vehicular Technology. 69 (12): 14413–14423. doi:10.1109/tvt.2020.3034800. ISSN 0018-9545. S2CID 228989788.
  5. Yoosefzadeh-Najafabadi, Mohsen; Hugh, Earl; Tulpan, Dan; Sulik, John; Eskandari, Milad (2021). "Application of Machine Learning Algorithms in Plant Breeding: Predicting Yield From Hyperspectral Reflectance in Soybean?". Front. Plant Sci. 11: 624273. doi:10.3389/fpls.2020.624273. PMC 7835636. PMID 33510761.
  6. Bishop, C. M. (2006), Pattern Recognition and Machine Learning, Springer, ISBN 978-0-387-31073-2
  7. การเรียนรู้ของเครื่องกับการรู้จำแบบ "มองได้ว่าเป็นสองแง่มุมของสาขาวิชาเดียวกัน"[6]: vii 
  8. Friedman, Jerome H. (1998). "Data Mining and Statistics: What's the connection?". Computing Science and Statistics. 29 (1): 3–9.
  9. Ramezanpour, A.; Beam, A.L.; Chen, J.H.; Mashaghi, A. (17 November 2020). "Statistical Physics for Medical Diagnostics: Learning, Inference, and Optimization Algorithms". Diagnostics. 10 (11): 972. doi:10.3390/diagnostics10110972. PMC 7699346. PMID 33228143.
  10. Mashaghi, A.; Ramezanpour, A. (16 March 2018). "Statistical physics of medical diagnostics: Study of a probabilistic model". Physical Review E. 97 (3–1): 032118. arXiv:1803.10019. Bibcode:2018PhRvE..97c2118M. doi:10.1103/PhysRevE.97.032118. PMID 29776109. S2CID 4955393.

บรรณานุกรม[แก้]

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]